ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

← กันยายน พ.ศ. 2535 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2539 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน721,820
ผู้ใช้สิทธิ63.06%
  First party Second party
 
ผู้นำ ชวน หลีกภัย บรรหาร ศิลปอาชา
พรรค ประชาธิปัตย์ ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 7 0
ที่นั่งที่ชนะ 8 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 Steady0

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2538 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา, อำเภอสิงหนคร, อำเภอระโนด, อำเภอกระแสสินธุ์, อำเภอสทิงพระ และอำเภอจะนะ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วินัย เสนเนียม (5)* 144,909
ประชาธิปัตย์ นิพนธ์ บุญญามณี (6)* 138,939
ประชาธิปัตย์ อำนวย สุวรรณคีรี (4)* 133,229
ชาติไทย นิกร จำนง (1)✔ 45,610
นำไทย วิชิต สุพัฒนกุล (10) 15,854
ดำรงไทย ยอดชาย โทธรัตน์ (7) 4,515
ดำรงไทย มนัส อังกาพย์ละออง (9) 2,802
ชาติไทย เทวัญ พวงสอน (3) 2,093
ชาติไทย วัฒนา ลิ้มสุริวงศ์ (2) 1,342
ดำรงไทย อุดมรัฐ งะสงบ (8) 637
นำไทย สุเทพ แกล้วทนงค์ (11) 434
ประชากรไทย พรทิพย์ บัวชื่น (14) 258
นำไทย โสภณ สังข์กุล (12) 184
ประชากรไทย บำรุง แก้วประดับเพชร (15) 179
ประชากรไทย คณินทร์ แก้วประดับเพชร (13) 156
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่, อำเภอนาหม่อม, อำเภอบางกล่ำ, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอคลองหอยโข่ง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไสว พัฒโน (7)* 134,418
ประชาธิปัตย์ ถาวร เสนเนียม (9) 129,436
ประชาธิปัตย์ ลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ (8)* 119,418
เสรีธรรม สมพงษ์ สระกวี (1) 38,435
นำไทย พันเอก สุชาติ จันทรโชติกุล (16)✔ 37,877
ชาติไทย พลตรี พีรยุทธ์ ศิรินุพงษ์ (4) 12,547
นำไทย บุญช่วย กฤตย์ประชา (17) 6,499
นำไทย พยม พรหมเพชร (18) 5,881
ดำรงไทย นฤชาติ บุญสุวรรณ (10)✔ 4,670
มวลชน จำแลง มงคลนิสภกุล (13) 3,716
ชาติไทย บุญส่ง อุปถัมภ์ (6) 2,883
เสรีธรรม ไวย มุสิกาชาติ (2) 1,140
ชาติไทย ชวน สัยละมัย (5) 1,003
เสรีธรรม สุรัน ตรีสุวรรณ (3) 959
มวลชน ประทีป ภัทรชัยยาคุปต์ (15) 543
มวลชน วิภาค สาโรจน์ (14) 521
ดำรงไทย ประสิทธิ์ สกุลเด็น (11) 399
ดำรงไทย ปรีชา พุทธกูล (12) 245
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสะเดา, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์ (6)* 76,114
ประชาธิปัตย์ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี (5)* 72,799
นำไทย ศิริโชค โสภา (3) 16,762
ดำรงไทย สะเบต หลีเหร็ม (1)✔ 13,870
นำไทย ธนารักษ์ ตันติวุฒิพงศ์ (4) 3,426
ดำรงไทย สมจิตร์ จิตร์นิยม (2) 705
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2538