จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ76.21%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ ไทยรักไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 8 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 8 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 449,659 36,490
% 74.66 6.06

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 8 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดสงขลา)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 449,659 74.66%
ไทยรักไทย 36,490 6.06%
อื่น ๆ 116,103 19.28%
ผลรวม 602,252 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
74.66%
ไทยรักไทย
  
6.06%
อื่น ๆ
  
19.28%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดสงขลา
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 2,414 0.40
ชาวไทย (2) 425 0.07
กสิกรไทย (3) 787 0.13
นิติมหาชน (4) 1,160 0.19
ความหวังใหม่ (5) 34,845 5.79
รักสามัคคี (6) 1,512 0.25
ไทยรักไทย (7) 36,490 6.06
ชาติประชาธิปไตย (8) 5,382 0.89
ชาติไทย (9) 13,671 2.27
สันติภาพ (10) 1,900 0.32
ถิ่นไทย (11) 13,722 2.28
พลังประชาชน (12) 525 0.09
ราษฎร (13) 12,263 2.04
สังคมใหม่ (14) 1,067 0.18
เสรีธรรม (15) 5,531 0.92
ประชาธิปัตย์ (16) 449,659 74.66
อำนาจประชาชน (17) 1,451 0.24
ประชากรไทย (18) 1,414 0.23
ไท (19) 1,095 0.18
ก้าวหน้า (20) 330 0.05
ชาติพัฒนา (21) 4,508 0.75
แรงงานไทย (22) 282 0.05
เผ่าไท (23) 335 0.06
สังคมประชาธิปไตย (24) 443 0.07
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 668 0.11
พัฒนาสังคม (26) 1,610 0.27
ไทยช่วยไทย (27) 314 0.05
ไทยมหารัฐ (28) 607 0.10
ศรัทธาประชาชน (29) 187 0.03
วิถีไทย (30) 158 0.03
ไทยประชาธิปไตย (31) 3,736 0.62
พลังธรรม (32) 530 0.09
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 459 0.07
กิจสังคม (34) 371 0.06
เกษตรมหาชน (35) 769 0.13
พลังเกษตรกร (36) 1,345 0.22
สยาม (37) 287 0.05
บัตรดี 602,252 95.85
บัตรเสีย 18,234 2.90
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,869 1.25
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 628,355 76.21
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 824,476 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เจือ ราชสีห์ (16) 47,157 61.83
ชาติไทย วันชัย ปริญญาศิริ (9) 20,407 26.76
ไทยรักไทย สัญญา วัชรพันธุ์ (7) 4,707 6.17
ชาติพัฒนา มนัส อุสดัส (21) 1,784 2.34
ความหวังใหม่ ไพบูลย์ พิชัยวงศ์ (5) 1,724 2.26
ราษฎร สมยศ อุเทศพันธ์ุ (13) 488 0.64
ผลรวม 76,265 100.00
บัตรดี 76,265 93.43
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,288 3.90
บัตรเสีย 4,838 5.73
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 84,391 77.91
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 108,314 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลหาดใหญ่)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ (16)* 45,253 71.35
ไทยรักไทย วีระชัย สุวรรณวงศ์ (7) 10,181 16.05
ราษฎร ชูชาติ อินทฤทธิ์ (13) 3,652 5.76
ความหวังใหม่ พันเอก สุริยะ สมิทธิ (5) 2,025 3.19
เสรีธรรม ปิยะ เอกอินทุมาศ (15) 1,105 1.74
ชาติพัฒนา นิรัตน์ กาฬพันธุ์ (21) 837 1.32
ประชากรไทย สมเจตต์ วาทีปกรณ์ (18) 370 0.58
ผลรวม 63,423 100.00
บัตรดี 63,423 85.72
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,619 6.24
บัตรเสีย 5,951 8.04
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 73,993 73.98
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100,023 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลคูเต่า ตำบลน้ำน้อย ตำบลทุ่งใหญ่ ตำบลท่าข้าม ตำบลคอหงส์ ตำบลบ้านพรุ ตำบลพะตง ตำบลคลองอู่ตะเภา ตำบลฉลุง ตำบลคลองแห และตำบลควนลัง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไพร พัฒโน (16)* 54,682 78.61
ไทยรักไทย ทวีศักดิ์ ทวีรัตน์ (7) 11,375 16.35
ความหวังใหม่ จำแลง มงคลนิสภกุล (5) 2,723 3.91
ชาติพัฒนา เกียรติศักดิ์ สุวรรณบุปผา (21) 778 1.12
ผลรวม 69,558 100.00
บัตรดี 69,558 88.04
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,016 3.82
บัตรเสีย 6,435 8.14
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 79,009 77.08
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 102,499 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอระโนด อำเภอกระแสสินธุ์ และอำเภอสทิงพระ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วินัย เสนเนียม (16)* 39,013 59.05
ราษฎร นรินทร์ แก้วมณี (13) 12,059 18.25
ไทยรักไทย นิลมล หนูสังข์ (7) 7,375 11.16
เสรีธรรม ประยุทธ สุวรรณโณ (15) 4,703 7.12
ความหวังใหม่ สมพร สุวรรณโณ (5) 1,916 2.90
ชาติไทย กมลวิศว์ แก้วแฝด (9) 692 1.05
ชาติพัฒนา สุรพงศ์ ชะอมชาติ (21) 313 0.47
ผลรวม 66,071 100.00
บัตรดี 66,071 88.92
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,515 2.04
บัตรเสีย 6,718 9.04
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 74,304 73.02
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 101,762 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอสิงหนคร อำเภอควนเนียง อำเภอบางกล่ำ และอำเภอรัตภูมิ (เฉพาะตำบลควนรู และตำบลคูหาใต้)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ นิพนธ์ บุญญามณี (16)* 43,822 62.80
ราษฎร นฤชาติ บุญสุวรรณ (13)✔ 9,179 13.15
ความหวังใหม่ หมัดแสล๊ะ เส็นลิหมีน (5) 6,836 9.80
ไทยรักไทย เชิดเกียรติ เมธีลักษณ์ (7) 3,669 5.26
เสรีธรรม เจียร สำราญ (15) 3,250 4.66
ชาติพัฒนา ธิติมา ณ นคร (21) 1,613 2.31
ชาติไทย สมทบ ละอองสกุล (9) 1,409 2.02
ผลรวม 69,778 100.00
บัตรดี 69,778 88.59
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,039 2.59
บัตรเสีย 6,947 8.82
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 78,764 73.83
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 106,686 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 6[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอรัตภูมิ (ยกเว้นตำบลควนรู และตำบลคูหาใต้) อำเภอหาดใหญ่ (เฉพาะตำบลทุ่งตำเสา) อำเภอคลองหอยโข่ง และอำเภอสะเดา (ยกเว้นตำบลสำนักแต้ว ตำบลปริก และตำบลสำนักขาม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ถาวร เสนเนียม (16)* 50,638 76.11
ไทยรักไทย ชัยณรงค์ ศรประสิทธิ์ (7) 7,452 11.20
ความหวังใหม่ ไผ่ซอล เกษตรกาลาม์ (5) 3,970 5.97
เสรีธรรม จรูญ ปราบณรงค์ (15) 2,305 3.46
ชาติพัฒนา ดลเหลาะ หล๊ะติหมะ (21) 1,608 2.42
ประชากรไทย พิษณุ หลีหีม (18) 560 0.84
ผลรวม 66,533 100.00
บัตรดี 66,533 88.06
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,909 2.53
บัตรเสีย 7,113 9.41
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,555 75.53
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100,039 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 7[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอสะเดา (เฉพาะตำบลสำนักแต้ว ตำบลปริก และตำบลสำนักขาม) อำเภอนาทวี อำเภอสะบ้าย้อย และอำเภอเทพา (เฉพาะตำบลลำไพล)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ศิริโชค โสภา (16) 39,097 55.86
ความหวังใหม่ ธเนศ ล่องนาวา (5) 14,353 20.51
ราษฎร สาทร สิกกะ (13) 13,422 19.18
เสรีธรรม วิษณุ บุหงา (15) 1,613 2.30
ไทยรักไทย พงษ์ศักดิ์ ศรีสงสาร (7) 870 1.24
ชาติพัฒนา สนิท วัฒนสุข (21) 635 0.91
ผลรวม 69,990 100.00
บัตรดี 69,990 87.94
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,348 1.69
บัตรเสีย 8,253 10.37
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 79,591 80.40
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 98,998 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 8[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภอนาหม่อม อำเภอจะนะ และอำเภอเทพา (ยกเว้นตำบลลำไพล)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์ (16)* 34,503 45.30
ไทยรักไทย สุรศักดิ์ มณี (7) 20,418 26.78
ความหวังใหม่ สมนเล๊าะ โปขะรี (5)✔ 17,403 22.83
เสรีธรรม หมะ ยีหมะ (15) 2,230 2.93
ไทยรักไทย นิรัติศัย ระตินัย (7) 1,003 1.32
ชาติพัฒนา จรัญ สุวรรณะ (21) 615 0.81
ผลรวม 76,172 100.00
บัตรดี 76,172 87.41
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,587 2.92
บัตรเสีย 8,575 9.67
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 88,631 83.49
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 106,155 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)