ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

← พ.ศ. 2519 22 เมษายน พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2526 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน387,629
ผู้ใช้สิทธิ36.93%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ ถนัด คอมันตร์ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ประมาณ อดิเรกสาร
พรรค ประชาธิปัตย์ กิจสังคม ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 3 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 4 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 Steady0 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
คณะปฎิวัติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2522 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2519 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอจะนะ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอเทพา, อำเภอระโนด และกิ่งอำเภอกระแสสินธุ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สงบ ทิพย์มณี (4) 37,686
ประชาธิปัตย์ วีระ สุพัฒนกุล (3) 28,159
ประชาธิปัตย์ อำนวย สุวรรณคีรี (2)* 26,499
ชาติไทย จรัส สิทธิพงศ์ (9) 25,295
กิจสังคม สิบเอก ผาด จินทะยะ (5) 23,144
กิจสังคม เจ๊ะเล๊าะ สันขะหรี (7) 15,092
กิจสังคม อ่ำ วรโสพรรณ (6) 13,116
ไม่สังกัดพรรค อุดม พวงสอน (12) 8,564
กิจประชาธิปไตย หะยียามิง หมุดประเสริฐ (8) 3,429
ไม่สังกัดพรรค กระจ่าง จันทร์สังข์ (1) 3,253
ไม่สังกัดพรรค กล่อม ฤทธิรงค์ (10) 2,971
สนับสนุนนโยบายเกรียงศักดิ์ สวาท ยามาเจริญ (11) 1,988
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่, อำเภอสะเดา, อำเภอนาทวี และ อำเภอสะบ้าย้อย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล (5)* 24,200
ประชาธิปัตย์ ไสว พัฒโน (3)* 16,560
เสรีธรรม (พ.ศ. 2522) สิริชัย หมื่นจร (1) 15,103
กิจสังคม จ่าสิบตำรวจ สมบัติ ปัญญาพฤกษ์ (6) 15,014
ประชาธิปัตย์ อุดม แดงโกเมน (4)* 9,786
ไม่สังกัดพรรค ถาวร ทองโชค (2) 8,556
พลังใหม่ อนันต์ กาญจนสุวรรณ (10) 2,652
ไม่สังกัดพรรค ยงศักดิ์ จันทรศิริ (8) 1,352
ไม่สังกัดพรรค ทวี ธัญญลักษณ์ (9) 1,099
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2522. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2523