ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน495,287
ผู้ใช้สิทธิ57.89%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ สิทธิ เศวตศิลา
พรรค ประชาธิปัตย์ ประชาชน (พ.ศ. 2531) กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 7 พรรคใหม่ 0
ที่นั่งที่ชนะ 5 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)[1]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา, อำเภอรัตภูมิ, อำเภอสทิงพระ, อำเภอระโนด, กิ่งอำเภอกระแสสินธุ์, กิ่งอำเภอควนเนียง และกิ่งอำเภอสิงหนคร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อำนวย สุวรรณคีรี (1)* 53,049
ประชาธิปัตย์ สงบ ทิพย์มณี (3)* 52,582
ประชาชน (พ.ศ. 2531) นิกร จำนง (5) 47,634
ประชาชน (พ.ศ. 2531) สุรใจ ศิรินุพงศ์ (4)* 45,597
ประชาธิปัตย์ อดิศักดิ์ ละอองมณี (2) 29,658
ประชาชน (พ.ศ. 2531) วีระ สุพัฒนกุล (6)✔ 25,055
พลังธรรม เจริญ สรเสณี (8) 19,624
พลังธรรม อนรรฆ แสงเดช (7) 9,722
พลังธรรม ยอดชาย โทธรัตน์ (9) 8,850
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่, กิ่งอำเภอนาหม่อม และ กิ่งอำเภอบางกล่ำ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไสว พัฒโน (3)* 38,482
กิจสังคม จ่าสิบตรี อนันต์ เรืองกูล (7)✔ 32,350
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พันโท พิศาล วัฒนวงษ์คีรี (11) 17,971
ประชาชน (พ.ศ. 2531) นฤชาติ บุญสุวรรณ (1)* 16,273
ประชาธิปัตย์ มนู ดวงสุวรรณ (4) 11,930
พลังธรรม ครื้น อรัญดร (5) 9,227
ประชาชน (พ.ศ. 2531) สงบ บุญเลิศ (2) 6,879
พลังธรรม อุทัย ศรีไหม (6) 5,109
ชาติไทย สมมุ่ง ณ สงขลา (9) 3,901
กิจสังคม สมจิต คารวนันท์ (8) 1,291
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ลิขิต เปรมใจชน (13) 919
ชาติไทย หอม ชูมณี (10) 723
ราษฎร (พ.ศ. 2529) หมัดยุสุบ หีมสุหรี (12) 716
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ลือชัย ริยาพันธ์ (14) 201
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสะเดา, อำเภอจะนะ, อำเภอนาทวี, อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี (1)* 41,047
ประชาธิปัตย์ สมนเล๊าะ โปขะรี (2)* 31,690
ประชากรไทย สะเบต หลีเหร็ม (5) 22,345
ประชาชน (พ.ศ. 2531) วิชิต วิเศษสุวรรณภูมิ (3)* 16,103
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ดาบตำรวจ สมบัติ ปัญญาพฤกษ์ (4) 13.219
พลังธรรม พลตำรวจตรี สุวิชช สายสุพรรณ (7) 7,335
กิจประชาคม สิบตำรวจเอก มานะ มิ่งมุฮัมวงศ์ (9) 6,909
พลังธรรม ก่อเกียรติ ทิพยนุกูล (8) 3,264
เกษตรอุตสาหกรรมไทย เฉลิม หนูสอน (14) 1,207
ประชากรไทย ชำนาญ ใจสงัด (6) 420
กิจประชาคม สันติ สุขประเสริฐ (10) 304
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วิทยา หะยีหมัด (11) 96
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ไพฑูรย์ ดุกชูแสง (12) 90
เกษตรอุตสาหกรรมไทย สามารถ เกตตะพันธ์ (13) 62
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532