ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงพยาบาลสงขลานครินทร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
มีการปรับปรุงใหม่
Imposterrr (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox hospital
{{กล่องข้อมูล โรงพยาบาล
| name = โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
| ภาพ = Medicine Prince of Songkla University logo.jpg
| org/group =
| ชื่อ = โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
| logo = Medicine Prince of Songkla University logo.jpg
| ชื่ออังกฤษ = Songklanagarind Hospital
| logo_size = 150
| ก่อตั้ง = [[22 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2525]]
| image = Songklanagarind Hospital.jpg
| ประเภท = [[โรงพยาบาล|โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย]]
| image_size = 270
| สังกัด = [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]]
| alt =
| ผู้อำนวยการ = รศ.นพ.เรืองศักดิ์ ลีธนาภรณ์
| caption =
| จำนวนเตียง = 1,500
| map_type =
| ที่ตั้ง = 15 ถนนกาญจนวนิช ตำบลคอหงส์<br>[[อำเภอหาดใหญ่]] [[จังหวัดสงขลา]] 90110
| map_size =
| เว็บไซต์ = [http://hospital.psu.ac.th]
| map_alt =
| map_caption =
| coordinates =
| location = 15 ถนนกาญจนวนิช ตำบลคอหงส์<br>[[อำเภอหาดใหญ่]] [[จังหวัดสงขลา]] 90110
| region = ใต้
| state =
| country = ไทย
| healthcare =
| type = สอน
| affiliation = [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]]
| standards =
| emergency = มี
| helipad =
| beds = 853 เตียง
| former-names = โรงพยาบาลคณะแพทยศาสตร์
| speciality =
| opened = {{วันเกิดและอายุ|2525|2|22}}
| closed = <!-- optional -->
| website = http://hospital.psu.ac.th
| other_links =
| nrhp =
}}
}}
'''โรงพยาบาลสงขลานครินทร์''' เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐบาลระดับตติยภูมิขั้นสูง (Super tertiary care) ระดับโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งแรกของภาคใต้ สังกัด[[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] ตั้งอยู่ภายใน[[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] วิทยาเขตหาดใหญ่
'''โรงพยาบาลสงขลานครินทร์''' (Songklanagarind Hospital) เป็น[[โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย|โรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์]]ของมหาวิทยาลัยของรัฐบาลระดับตติยภูมิขั้นสูง (Super tertiary care) แห่งแรกของภาคใต้ สังกัด[[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] ตั้งอยู่ภายใน[[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] วิทยาเขตหาดใหญ่

== ประวัติ ==
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เริ่มก่อสร้างขึ้นในวันที่ 26 สิงหาคม 2519 โดย[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]]และ[[สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ]]ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ ซึ่งตั้งอยู่หลักกิโลเมตรที่ 27 ด้านตะวันออกของถนนกาญจนวนิช มีเนื้อที่ประมาณ 120,000 ตารางเมตร และเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2522 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าพระราชทานนามโรงพยาบาลว่า'''"โรงพยาบาลสงขลานครินทร์"''' มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า'''" SONGKLANAGARIND HOSPITAL"'''

โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เป็นโรงพยาบาลขนาด 853 เตียงให้บริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินในสาขาต่างๆ ได้แก่ เวชปฏิบัติทั่วไป สูตินรีเวชศัลยกรรม อายุรกรรม กุมารเวชกรรม ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์และกายภาพบำบัด ตา หูคอจมูก จิตเวช นอกจากนี้ยังให้บริการคลินิกระงับปวดและฝังเข็ม รังสีรักษาและผ่าตัดแบบผู้ป่วยนอก นอกจากนี้ยังมีศูนย์ความเป็นเลิศทางด้านหัวใจ มะเร็ง ทางเดินอาหารและตับ

== ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ ==
นอกจากการแบ่งแยกความเชี่ยวชาญตามสาขาต่างๆแล้ว โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ได้คัดเลือกสาขาวิชาที่บุคลากรของโรงพยาบาลมีความเชี่ยวชาญระดับสูงที่โรงพยาบาลมีความโดดเด่นจัดตั้งศูนย์แห่งความเป็นเลิศต่างๆ เพื่อเพิ่มคุณภาพการรักษาโรคที่สลับซับซ้อนได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยตั้งความหวังไว้ว่าศูนย์ความเป็นเลิศเหล่านี้ ที่เกิดขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยในภาคใต้ได้มีโอกาสรับการรักษาที่ดีที่สุดในระดับสากลไม่จำเป็นต้องเดินทางไปรักษาต่อในส่วนกลางหรือต่างประเทศ
ศูนย์ความเป็นเลิศที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ได้จัดตั้งแล้ว จำนวน 6 ศูนย์ คือ

1. ศูนย์โรคหัวใจและหลอดเลือดนราธิวาสราชนครินทร์

2. สถาบันโรคทางเดินอาหารและตับ นันทนา-เกรียงไกร โชติวัฒนะพันธ์

3. ศูนย์โรคมะเร็ง

4. ศูนย์อุบัติเหตุ

5. ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ

6. หน่วยชีวันตภิบาล
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ยังได้มีหน่วยงานที่มีผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศทั้งหลายอีกหลายหน่วยงาน เช่นหน่วยควบคุมโรคติดเชื้อ งานเวชภัณฑ์กลาง เป็นต้น ซึ่งแต่ละศูนย์แห่งความเป็นเลิศเหล่านี้เป็นต้นแบบที่โรงพยาบาลต่าง ๆ ทั่วทั้งประเทศให้ความสนใจและขอศึกษาดูงานปีละหลายสิบคณะ

== หน่วยงานภายใน ==
{{บน}}
* มูลนิธิโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
* ฝ่ายบริการพยาบาล
* งานธุรการ
* งานเงินรายได้
* งานสิทธิประโยชน์ผู้ป่วย
* หน่วยควบคุมการติดเชื้อ
* งานแม่บ้าน
* งานผู้รับบริการสัมพันธ์
* หน่วยขนย้ายผู่ป่วย
* งานเวชระเบียน

{{กลาง}}
* งานโภชนาการ
* หน่วยจ่ายผ้ากลาง
* งานเวชภัณฑ์กลาง
* งานวิศวกรรมซ่อมบำรุง
* ศูนย์โรคหัวใจ
* หน่วยสุขศึกษา
* ศูนย์คุณภาพ
* ศูนย์ซ่อมเครื่องมือแพทย์
* หน่วย Palliative care
* ฝ่ายเภสัชกรรม
{{ล่าง}}


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]]
* [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]]
* [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]]
* [[ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย]]
* [[ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:07, 6 เมษายน 2564

โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ไฟล์:Medicine Prince of Songkla University logo.jpg
ไฟล์:Songklanagarind Hospital.jpg
แผนที่
ภูมิศาสตร์
ที่ตั้ง15 ถนนกาญจนวนิช ตำบลคอหงส์
อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110, ใต้, ไทย
หน่วยงาน
ประเภทโรงพยาบาลเพื่อการเรียนการสอน
สังกัดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บริการสุขภาพ
แผนกฉุกเฉินมี
จำนวนเตียง853 เตียง
ประวัติ
ชื่อเดิมโรงพยาบาลคณะแพทยศาสตร์
เปิดให้บริการ22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 (42 ปี)
ลิงก์
เว็บไซต์http://hospital.psu.ac.th

โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ (Songklanagarind Hospital) เป็นโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ของมหาวิทยาลัยของรัฐบาลระดับตติยภูมิขั้นสูง (Super tertiary care) แห่งแรกของภาคใต้ สังกัดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งอยู่ภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

ประวัติ

โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เริ่มก่อสร้างขึ้นในวันที่ 26 สิงหาคม 2519 โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ ซึ่งตั้งอยู่หลักกิโลเมตรที่ 27 ด้านตะวันออกของถนนกาญจนวนิช มีเนื้อที่ประมาณ 120,000 ตารางเมตร และเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2522 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าพระราชทานนามโรงพยาบาลว่า"โรงพยาบาลสงขลานครินทร์" มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า" SONGKLANAGARIND HOSPITAL"

โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เป็นโรงพยาบาลขนาด 853 เตียงให้บริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินในสาขาต่างๆ ได้แก่ เวชปฏิบัติทั่วไป สูตินรีเวชศัลยกรรม อายุรกรรม กุมารเวชกรรม ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์และกายภาพบำบัด ตา หูคอจมูก จิตเวช นอกจากนี้ยังให้บริการคลินิกระงับปวดและฝังเข็ม รังสีรักษาและผ่าตัดแบบผู้ป่วยนอก นอกจากนี้ยังมีศูนย์ความเป็นเลิศทางด้านหัวใจ มะเร็ง ทางเดินอาหารและตับ

ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์

นอกจากการแบ่งแยกความเชี่ยวชาญตามสาขาต่างๆแล้ว โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ได้คัดเลือกสาขาวิชาที่บุคลากรของโรงพยาบาลมีความเชี่ยวชาญระดับสูงที่โรงพยาบาลมีความโดดเด่นจัดตั้งศูนย์แห่งความเป็นเลิศต่างๆ เพื่อเพิ่มคุณภาพการรักษาโรคที่สลับซับซ้อนได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยตั้งความหวังไว้ว่าศูนย์ความเป็นเลิศเหล่านี้ ที่เกิดขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยในภาคใต้ได้มีโอกาสรับการรักษาที่ดีที่สุดในระดับสากลไม่จำเป็นต้องเดินทางไปรักษาต่อในส่วนกลางหรือต่างประเทศ

ศูนย์ความเป็นเลิศที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ได้จัดตั้งแล้ว จำนวน 6 ศูนย์ คือ

1. ศูนย์โรคหัวใจและหลอดเลือดนราธิวาสราชนครินทร์

2. สถาบันโรคทางเดินอาหารและตับ นันทนา-เกรียงไกร โชติวัฒนะพันธ์

3. ศูนย์โรคมะเร็ง

4. ศูนย์อุบัติเหตุ

5. ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ

6. หน่วยชีวันตภิบาล

โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ยังได้มีหน่วยงานที่มีผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศทั้งหลายอีกหลายหน่วยงาน เช่นหน่วยควบคุมโรคติดเชื้อ งานเวชภัณฑ์กลาง เป็นต้น ซึ่งแต่ละศูนย์แห่งความเป็นเลิศเหล่านี้เป็นต้นแบบที่โรงพยาบาลต่าง ๆ ทั่วทั้งประเทศให้ความสนใจและขอศึกษาดูงานปีละหลายสิบคณะ

หน่วยงานภายใน

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น