ข้ามไปเนื้อหา

รายพระนามพระมหากษัตริย์เยอรมนี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รายพระนามกษัตริย์และจักรพรรดิเยอรมนี (อังกฤษ: List of German monarchs) รายพระนามข้างล่างเป็นพระนามของพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิที่ปกครองเยอรมนีตั้งแต่การแยกตัวมาเป็นราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันออก ในปี ค.ศ. 843 จนกระทั่งการสิ้นสุดระบอบราชาธิปไตยในปี ค.ศ. 1918

กษัตริย์และจักรพรรดิเยอรมนี

[แก้]

หมายเหตุ: พระนามจักรพรรดิเป็นอักษรตัวหนา

พระนาม ราชวงศ์ กษัตริย์ จักรพรรดิ สิ้นสมัย หมายเหตุ
ลุดวิจชาวเยอรมัน
(Ludwig II der Deutsche)
ราชวงศ์การอแล็งเฌียง 11 สิงหาคม ค.ศ. 843 23 สิงหาคม ค.ศ. 876 พระราชโอรสของจักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธาและพระราชนัดดาของชาร์เลอมาญ
ลุดวิจผู้เยาว์
(Ludwig III der Jüngere)
ราชวงศ์คาโรแล็งเชียง 28 สิงหาคม ค.ศ. 876 20 มกราคม ค.ศ. 882 พระราชโอรสของลุดวิจเดอะเยอรมัน; ปกครองราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันออก, อาณาจักรดยุคแห่งแซกโซนี, ตั้งแต่ ค.ศ. 880 อาณาจักรดยุคแห่งบาวาเรีย
คาโรมันแห่งบาวาเรีย
(Karlmann)
ราชวงศ์คาโรแล็งเชียง 28 สิงหาคม ค.ศ. 876 22 มีนาคม ค.ศ. 880 พระราชโอรสของลุดวิจเดอะเยอรมัน; ปกครองอาณาจักรดยุคแห่งบาวาเรีย; ตั้งแต่ ค.ศ. 877 กษัตริย์แห่งอิตาลี
คาร์ลเดอร์ดิคเคอ
(Karl III. der Dicke)
ราชวงศ์คาโรแล็งเชียง 28 สิงหาคม ค.ศ. 876 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 881 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 887 พระราชโอรสของลุดวิจเดอะเยอรมัน; ปกครองอาเลอมาเนีย, เรเธีย, ตั้งแต่ ค.ศ. 882 ราชอาณาจักรตะวันออกทั้งหมด
อาร์นุลฟแห่งคารินเทีย
(Arnulf von Kärnten)
ราชวงศ์คาโรแล็งเชียง 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 887 25 เมษายน ค.ศ. 896 8 ธันวาคม ค.ศ. 899 พระราชโอรสของคาโรมันแห่งบาวาเรีย
ลุดวิจดาสคินด์
(Ludwig IV das Kind)
ราชวงศ์คาโรแล็งเชียง 21 มกราคม ค.ศ. 900 20 สิงหาคม ค.ศ. 911 พระราชโอรสของอาร์นุลฟแห่งคารินเธีย
คอนราดที่ 1 แห่งเยอรมนี
(Konrad I)
ราชวงศ์คอนราด 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 911 23 ธันวาคม ค.ศ. 918  
ไฮน์ริชที่ 1
(Heinrich I der Vogler)
ราชวงศ์ออทโทเนียน 23 เมษายน ค.ศ. 919 2 กรกฎาคม ค.ศ. 936  
อาร์นุลฟดยุคแห่งบาวาเรีย
(Arnulf der Böse, Herzog von Bayern)
ลุทโพลดิง ค.ศ. 919 ค.ศ. 921 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ของไฮน์ริชที่ 1
จักรพรรดิออทโทที่ 1 มหาราช
(Otto I der Große)
ราชวงศ์ออทโทเนียน 7 สิงหาคม ค.ศ. 936 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 962 7 พฤษภาคม ค.ศ. 973 พระราชโอรสในไฮน์ริชเดอร์โวเกลอร์; กษัตริย์องค์แรกที่ได้รับการสวมมงกุฎที่มหาวิหารอาเคินตั้งแต่โลแธร์ที่ 1; สวมมงกุฎเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 961
จักรพรรดิออทโทที่ 2
(Otto II)
ราชวงศ์ออทโทเนียน 26 พฤษภาคม ค.ศ. 961 25 ธันวาคม ค.ศ. 967 7 ธันวาคม ค.ศ. 983 พระราชโอรสในออทโทที่ 1 มหาราช;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้ออทโทที่ 1 ค.ศ. 961-ค.ศ. 973;
สวมมงกุฎเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ระหว่างที่พระราชบิดายังทรงพระชนม์
จักรพรรดิออทโทที่ 3
(Otto III)
ราชวงศ์ออทโทเนียน 25 ธันวาคม ค.ศ. 983 21 พฤษภาคม ค.ศ. 996 21 มกราคม ค.ศ. 1002 พระราชโอรสในออทโทที่ 2 มหาราช
จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 2
(Heinrich II der Heilige)
ราชวงศ์ออทโทเนียน 7 มิถุนายน ค.ศ. 1002 26 เมษายน ค.ศ. 1014 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1024 พระราชนัดดาในไฮน์ริชที่ 1
จักรพรรดิคอนราดที่ 2
(Konrad II)
ราชวงศ์ซาเลียน 8 กันยายน ค.ศ. 1024 26 มีนาคม ค.ศ. 1027 4 มิถุนายน ค.ศ. 1039 พระราชปนัดดาในออทโทที่ 1 มหาราช
จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 3
(Heinrich III)
ราชวงศ์ซาเลียน 14 เมษายน ค.ศ. 1028 25 ธันวาคม ค.ศ. 1046 5 ตุลาคม ค.ศ. 1056 พระราชโอรสในจักรพรรดิคอนราดที่ 2;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้คอนราดที่ 2 ค.ศ. 1028-ค.ศ. 1039
จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 4
(Heinrich IV)
ราชวงศ์ซาเลียน 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1054 21 มีนาคม ค.ศ. 1084 31 ธันวาคม ค.ศ. 1105 พระราชโอรสในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 3;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้คอนราดที่ 2 ค.ศ. 1054-ค.ศ. 1056
รูดอล์ฟฟอนไรน์เฟลด์
(Rudolf von Rheinfelden)
ไรน์เฟลด์ 15 มีนาคม ค.ศ. 1077 15 ตุลาคม ค.ศ. 1080 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ของไฮน์ริชที่ 4
เฮอร์มันน์ฟอนซาล์ม
(Hermann von Luxemburg, Graf von Salm)
ซาล์ม 6 สิงหาคม ค.ศ. 1081 28 กันยายน ค.ศ. 1088 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ของไฮน์ริชที่ 4
คอนราดที่ 2 แห่งอิตาลี
(Konrad)
ราชวงศ์ซาเลียน 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1087 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1101 พระราชโอรสในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 4;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้ไฮน์ริชที่ 4 ค.ศ. 1087-ค.ศ. 1098,
กษัตริย์แห่งอิตาลี ค.ศ. 1093-ค.ศ. 1098, 1095-ค.ศ. 1101 ในการปฏิวัติ
จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 5
(Heinrich V)
ราชวงศ์ซาเลียน 6 มกราคม ค.ศ. 1099 13 เมษายน ค.ศ. 1111 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1125 พระราชโอรสในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 4;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้ไฮน์ริชที่ 4 ค.ศ. 1099-ค.ศ. 1105 บังคับให้พระราชบิดาสละราชสมบัติ
จักรพรรดิโลธาร์ที่ 3
(Lothar III)
ซุพพลิงเบอร์เกอร์ 30 สิงหาคม ค.ศ. 1125 4 มิถุนายน ค.ศ. 1133 4 ธันวาคม ค.ศ. 1137  
คอนราดที่ 3 แห่งเยอรมนี
(Conrad III)
โฮเฮนเสตาเฟน 7 มีนาคม ค.ศ. 1138 15 กุมภาพันธ์ 1152 พระราชนัดดาในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 4 (ทางพระราชมารดา);
เดิมกษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ของโลธาร์ที่ 3 ค.ศ. 1127-ค.ศ. 1135
ไฮน์ริช เบอเรงการ์
(Heinrich (VI))
โฮเฮนเสตาเฟน 30 มีนาคม ค.ศ. 1147 สิงหาคม? ค.ศ. 1150 พระราชโอรสในคอนราดที่ 3 แห่งเยอรมนี;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1147-ค.ศ. 1150
จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1
(Friedrich I Barbarossa)
โฮเฮนเสตาเฟน 4 มีนาคม ค.ศ. 1152 18 มิถุนายน ค.ศ. 1155 10 มิถุนายน ค.ศ. 1190 พระราชนัดดาในคอนราดที่ 3 แห่งเยอรมนี
จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 6
(Heinrich VI)
โฮเฮนเสตาเฟน 15 สิงหาคม ค.ศ. 1169 14 เมษายน ค.ศ. 1191 28 กันยายน ค.ศ. 1197 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรีดริชที่ 1;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1169-ค.ศ. 1190
จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2
(Friedrich II)
โฮเฮนเสตาเฟน ค.ศ. 1197 ค.ศ. 1197 พระราชโอรสในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 6;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1196
ฟิลิปแห่งชเวเบีย
(Philipp von Schwaben)
โฮเฮนเสตาเฟน 6 มีนาคม ค.ศ. 1198 21 สิงหาคม ค.ศ. 1208 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรีดริชที่ 1; กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ของออทโทที่ 4
จักรพรรดิออทโทที่ 4
(Otto IV von Braunschweig)
เวลฟ์ 29 มีนาคม ค.ศ. 1198 4 ตุลาคม ค.ศ. 1209 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1215 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ฟิลิปแห่งชเวเบีย; ต่อมาจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2; ถูกปลด ค.ศ. 1215; สิ้นพระชนม์ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1218
จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2
(Friedrich II)
โฮเฮนเสตาเฟน 5 ธันวาคม ค.ศ. 1212 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1220 26 ธันวาคม ค.ศ. 1250 พระราชโอรสในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 6;
กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ออทโทที่ 4 จนวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1215
ไฮน์ริชที่ 7 แห่งเยอรมนี
(Heinrich (VII))
โฮเฮนเสตาเฟน 23 เมษายน ค.ศ. 1220 15 สิงหาคม ค.ศ. 1235 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1220-ค.ศ. 1235
จักรพรรดิคอนราดที่ 4
(Konrad IV)
โฮเฮนเสตาเฟน พฤษภาคม ค.ศ. 1237 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1254 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1237-ค.ศ. 1250
ไฮน์ริช ราสเพ
(Heinrich Raspe)
เทอริงเกีย 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1246 16 กุมภาพันธ์ 1247 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ฟรีดริชที่ 2
เคานท์วิลเฮล์มที่ 2 แห่งฮอลแลนด์
(Wilhelm von Holland)
ฮอลแลนด์ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1247 28 มกราคม ค.ศ. 1256 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ฟรีดริชที่ 2 และ คอนราดที่ 4 ค.ศ. 1247-ค.ศ. 1254
ริชาร์ด เอิร์ลแห่งคอร์นวอลล์
(Richard von Cornwall)
ราชวงศ์แพลนทาเจเน็ท 13 มกราคม ค.ศ. 1257 2 เมษายน ค.ศ. 1272 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์อัลฟอนโซแห่งคาสตีล; ไม่มีอำนาจที่แท้จริง
อัลฟอนโซที่ 10 แห่งกัสติยา
(Alfons von Kastilien)
อันซาริด 1 เมษายน ค.ศ. 1257 ค.ศ. 1275 พระราชนัดดาในฟิลิป; กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ริชาร์ดเอิร์ลแห่งคอร์นวอลล์; ไม่มีอำนาจที่แท้จริง; ต่อมาถูกค้านโดยรูดอล์ฟที่ 1 แห่งเยอรมนี; สละสิทธิ์ ค.ศ. 1275, สิ้นพระชนม์ ค.ศ. 1284
รูดอล์ฟที่ 1 แห่งเยอรมนี
(Rudolf I von Habsburg)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 29 กันยายน ค.ศ. 1273 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1291  
อดอล์ฟแห่งนาซอ-ไวลบวร์ก
(Adolf von Nassau)
ราชวงศ์นาซอ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1292 23 มิถุนายน ค.ศ. 1298 ตามคำของนักประวัติศาสตร์ก่อนหน้าการเลือกตั้งของอดอล์ฟกษัตริย์คอนราดที่ 2 แห่งเท็คปกครองอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง
อัลเบร็คท์ที่ 1 แห่งเยอรมนี
(Albrecht I von Habsburg)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 24 มิถุนายน ค.ศ. 1298 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1308 พระราชโอรสในรูดอล์ฟที่ 1 แห่งเยอรมนี; กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์อดอล์ฟแห่งนาซอ-ไวลบวร์ก ค.ศ. 1298
จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 7
(Heinrich VII, Luxemburger)
ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 1308 13 มิถุนายน ค.ศ. 1311 24 สิงหาคม ค.ศ. 1313  
จักรพรรดิลุดวิจที่ 4
(Ludwig IV., der Bayer, Wittelsbacher)
วิทเทลส์บัค 20 ตุลาคม ค.ศ. 1314 17 มกราคม ค.ศ. 1328 11 ตุลาคม ค.ศ. 1347 พระราชนัดดาในรูดอล์ฟที่ 1 แห่งเยอรมนี; กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์เฟรเดอริคเดอะแฟร์ ค.ศ. 1314-ค.ศ. 1322
ฟรีดริชเดอะแฟร์
(Friedrich der Schöne, Habsburger)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 19 ตุลาคม ค.ศ. 1314/
5 กันยายน ค.ศ. 1325
28 กันยายน ค.ศ. 1322/
13 มกราคม ค.ศ. 1330
พระราชโอรสในอัลเบร็คท์ที่ 1 แห่งเยอรมนี;
กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ลุดวิจที่ 4 ค.ศ. 1314-ค.ศ. 1322;
กษัตริย์เกี่ยวข้องกับลุดวิจที่ 4 ค.ศ. 1325-ค.ศ. 1330
จักรพรรดิคาร์ลที่ 4
(Karl IV. von Luxemburg)
ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1346 5 เมษายน ค.ศ. 1355 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1378 พระราชนัดดาในจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 7; กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ลุดวิจที่ 4 ค.ศ. 1346-ค.ศ. 1347
กึนเทอร์ฟอนชวาร์ซบวร์ก
(Günther von Schwarzburg)
ราชวงศ์ชวาร์ซบวร์ก 30 มกราคม ค.ศ. 1349 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1349 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์คาร์ลที่ 4
เวนสเลาส กษัตริย์แห่งชนโรมัน
(Wenceslaus, King of the Romans)
ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก 10 มิถุนายน ค.ศ. 1376 20 สิงหาคม ค.ศ. 1400 พระราชโอรสในจักรพรรดิคาร์ลที่ 4; กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1376-ค.ศ. 1378; ถูกปลด ค.ศ. 1400; สิ้นพระชนม์ ค.ศ. 1419
ฟรีดิชแห่งบรันสวิค-ลืนเนอบวร์ก
(Friedrich von Braunschweig und Lüneburg, Welfe)
บรันสวิค-ลืนเนอบวร์ก ค.ศ. 1400 ค.ศ. 1400 กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์เวนสเลาส [ต้องการอ้างอิง]
รูเปิร์ตแห่งเยอรมนี
(Ruprecht von der Pfalz, Wittelsbacher)
วิทเทลส์บัค 21 สิงหาคม ค.ศ. 1400 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1410 พระราชปนัดดาในจักรพรรดิลุดวิจที่ 4
จักรพรรดิซีกิสมุนด์
(Sigismund von Luxemburg)
ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก 20 กันยายน ค.ศ. 1410/
21 กรกฎาคม ค.ศ. 1411
3 พฤษภาคม ค.ศ. 1433 9 ธันวาคม ค.ศ. 1437 พระราชโอรสในคาร์ลที่ 4
โยบสต์แห่งโมราเวีย
(Jobst von Mähren, Luxemburger)
ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก 1 ตุลาคม ค.ศ. 1410 8 มกราคม ค.ศ. 1411 พระราชนัดดาในคาร์ลที่ 4; กษัตริย์คู่ปฏิปักษ์ซีกิสมุนด์
สมเด็จพระเจ้าอัลเบร็คท์ที่ 2
(Albert II of Germany)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 18 มีนาคม ค.ศ. 1438 27 ตุลาคม ค.ศ. 1439 พระราชโอรสเขยของซีกิสมุนด์
จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3
(Friedrich III)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 2 กุมภาพันธ์ 1440 16 มีนาคม ค.ศ. 1452 19 สิงหาคม ค.ศ. 1493
จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1
(Maximilian I)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 16 กุมภาพันธ์ 1486 4 กุมภาพันธ์ 1508
จักรพรรดิเลือกตั้ง
12 มกราคม ค.ศ. 1519 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3; กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1486-ค.ศ. 1493; ใช้ตำแหน่งจักรพรรดิเลือกตั้งโดยการอนุมัติของพระสันตะปาปา ค.ศ. 1508
จักรพรรดิคาร์ลที่ 5
(Karl V)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 28 มิถุนายน ค.ศ. 1519 24 กุมภาพันธ์ 1530 3 สิงหาคม ค.ศ. 1556 พระราชนัดดาในจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1
จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1
(Ferdinand I)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 5 มกราคม ค.ศ. 1531 14 มีนาคม ค.ศ. 1558
จักรพรรดิเลือกตั้ง
25 กรกฎาคม ค.ศ. 1564 พระราชนัดดาในจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1; พระอนุชาในจักรพรรดิคาร์ลที่ 5; กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระเชษฐา ค.ศ. 1531-ค.ศ. 1556; กษัตริย์องค์สุดท้ายที่ได้รับการสวมมงกุฎที่มหาวิหารอาเคิน
จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2
(Maximilian II)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1562 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1564
จักรพรรดิเลือกตั้ง
12 ตุลาคม ค.ศ. 1576 พระราชโอรสในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1562-ค.ศ. 1564
จักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2
(Rudolf II)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 27 ตุลาคม ค.ศ. 1575 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1576
จักรพรรดิเลือกตั้ง
20 มกราคม ค.ศ. 1612 พระราชโอรสในจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1575-ค.ศ. 1576
จักรพรรดิมัททีอัส
(Matthias)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 13 มิถุนายน ค.ศ. 1612 13 มิถุนายน ค.ศ. 1612
จักรพรรดิเลือกตั้ง
20 มีนาคม ค.ศ. 1619 พระราชโอรสในจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 2
จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 2
(Ferdinand II)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 28 สิงหาคม ค.ศ. 1619 28 สิงหาคม ค.ศ. 1619
จักรพรรดิเลือกตั้ง
15 กุมภาพันธ์ 1637 พระราชนัดดาในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1
จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3
(Ferdinand III)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 22 ธันวาคม ค.ศ. 1636 15 กุมภาพันธ์ 1637
จักรพรรดิเลือกตั้ง
2 เมษายน ค.ศ. 1657 พระราชโอรสในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 2;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1636-ค.ศ. 1637
แฟร์ดีนันด์ที่ 4 แห่งเยอรมนี
(Ferdinand IV)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1653 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1654 พระราชโอรสในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3;
กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา
จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1
(Leopold I)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1658 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1658
จักรพรรดิเลือกตั้ง
5 พฤษภาคม ค.ศ. 1705 พระราชโอรสในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3
จักรพรรดิโยเซฟที่ 1
(Joseph I)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 23 มกราคม ค.ศ. 1690 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1705
จักรพรรดิเลือกตั้ง
17 เมษายน ค.ศ. 1711 พระราชโอรสในจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1; กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1690-ค.ศ. 1705
จักรพรรดิคาร์ลที่ 6
(Karl VI)
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 27 ตุลาคม ค.ศ. 1711 27 ตุลาคม ค.ศ. 1711
จักรพรรดิเลือกตั้ง
20 ตุลาคม ค.ศ. 1740 พระราชโอรสในจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1
จักรพรรดิคาร์ลที่ 7
(Karl VII)
วิทเทลส์บัค 14 มกราคม ค.ศ. 1742 14 มกราคม ค.ศ. 1742
จักรพรรดิเลือกตั้ง
20 มกราคม ค.ศ. 1745 พระสวามีในมาเรีย อมาเลียแห่งออสเตรียพระราชธิดาในจักรพรรดิโยเซฟที่ 1
จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1
(Franz I)
ราชวงศ์ลอร์แรน 13 กันยายน ค.ศ. 1745 13 กันยายน ค.ศ. 1745
จักรพรรดิเลือกตั้ง
18 สิงหาคม ค.ศ. 1765 พระสวามีในจักรพรรดินีนาถมาเรีย เทเรซาพระราชธิดาในจักรพรรดิคาร์ลที่ 6
จักรพรรดิโยเซฟที่ 2
(Joseph II)
ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 27 มีนาคม ค.ศ. 1764 18 สิงหาคม ค.ศ. 1765
จักรพรรดิเลือกตั้ง
20 กุมภาพันธ์ 1790 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 และ จักรพรรดินีนาถมาเรีย เทเรซา; กษัตริย์แห่งเยอรมนีภายใต้พระราชบิดา ค.ศ. 1764-ค.ศ. 1765
จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2
(Leopold II)
ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 30 กันยายน ค.ศ. 1790 30 กันยายน ค.ศ. 1790
จักรพรรดิเลือกตั้ง
1 มีนาคม ค.ศ. 1792 พระราชโอรสในจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 และ จักรพรรดินีนาถมาเรีย เทเรซา
จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2
(Franz II)
ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1792 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1792
จักรพรรดิเลือกตั้ง
6 สิงหาคม ค.ศ. 1806 พระราชโอรสในจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2; ยุบจักรวรรดิ; และจักรพรรดิแห่งออสเตรีย ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1835; สิ้นพระชนม์ ค.ศ. 1835

สมัยการปกครองของวิคคาร์

[แก้]

ระหว่างสมัยไร้กษัตริย์ (interregnum) อำนาจการปกครองตกไปอยู่ภายใต้อำนาจของวิคคาร์— พรินซ์อีเล็คเตอร์แห่งแซกโซนีในฐานะ “เคาน์พาลาไทน์แห่งแซกโซนี” ปกครองเยอรมนีทางตอนเหนือ และ อีเล็คเตอร์พาลาไทน์ ในฐานะ “เคาน์พาลาไทน์แห่งไรน์” ปกครองเยอรมนีทางตอนใต้ ความสับสนของอำนาจของอีเล็คเตอร์พาลาไทน์ระหว่างสงครามสามสิบปีที่นำไปสู่ความสับสนว่าผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจที่แท้จริงในปลายสมัยของจักรวรรดิ

สมาพันธรัฐเยอรมัน ค.ศ. 1806-ค.ศ. 1871

[แก้]
พระนาม ตำแหน่ง ราชวงศ์ เริ่ม สิ้นสมัย
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1,
จักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส
(Napoléon I, Kaiser der Franzosen)
ผู้พิทักษ์
สมาพันธรัฐแห่งไรน์
โบนาปาร์ต 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1806 19 ตุลาคม ค.ศ. 1813
พระนาม ตำแหน่ง ราชวงศ์ เริ่ม สิ้นสมัย
จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1,
จักรพรรดิแห่งออสเตรีย
(Franz I, Kaiser von Österreich)
องค์ประธานแห่ง
สมาพันธรัฐเยอรมัน
ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 20 มิถุนายน ค.ศ. 1815 2 มีนาคม ค.ศ. 1835
จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1,
จักรพรรดิแห่งออสเตรีย
(Ferdinand I, Kaiser von Österreich)
องค์ประธานแห่ง
สมาพันธรัฐเยอรมัน
ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 2 มีนาคม ค.ศ. 1835 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1848
อาร์ดดยุคโยฮันน์แห่งออสเตรีย Imperial Vicar[1] ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1848 20 ธันวาคม ค.ศ. 1849
พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 4 แห่งปรัสเซีย
(Friedrich Wilhelm IV, König von Preußen)
“จักรพรรดิแห่งชนเยอรมัน” โฮเฮนโซลเลิร์น เลือกโดยสภาฟรังเฟิร์ตแห่งชาติเมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1849 แต่ไม่ยอมสวมมงกุฎเมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1849
พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 4 แห่งปรัสเซีย[2]
(Friedrich Wilhelm IV, König von Preußen)
องค์ประธานแห่ง
สหภาพเยอรมนี
โฮเฮนโซลเลิร์น 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1849 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1850
จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟ,
จักรพรรดิแห่งออสเตรีย
(Franz Joseph I, Kaiser von Österreich)
องค์ประธานแห่ง
สมาพันธรัฐเยอรมัน
ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1850 24 สิงหาคม ค.ศ. 1866
พระนาม ตำแหน่ง ราชวงศ์ เริ่ม สิ้นสมัย
จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี,
กษัตริย์แห่งปรัสเซีย
(Wilhelm I, König von Preußen)
องค์ประธานแห่ง
สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ
โฮเฮนโซลเลิร์น 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1867 18 มกราคม ค.ศ. 1871[3]
พระนาม ตำแหน่ง ราชวงศ์ เริ่ม สิ้นสมัย
จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี,
กษัตริย์แห่งปรัสเซีย
(Wilhelm I, König von Preußen)
จักรพรรดิเยอรมัน โฮเฮนโซลเลิร์น 18 มกราคม ค.ศ. 1871 9 มีนาคม ค.ศ. 1888
ฟรีดริชที่ 3,
กษัตริย์แห่งปรัสเซีย
(Friedrich III, König von Preußen)
จักรพรรดิเยอรมัน โฮเฮนโซลเลิร์น 9 มีนาคม ค.ศ. 1888 15 มิถุนายน ค.ศ. 1888
จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี,
กษัตริย์แห่งปรัสเซีย
(Wilhelm II, König von Preußen)
จักรพรรดิเยอรมัน โฮเฮนโซลเลิร์น 15 มิถุนายน ค.ศ. 1888 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918

ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์เยอรมนี

[แก้]

หลังจากการยุบราชบัลลังก์เยอรมนีในปี ค.ศ. 1918 แล้วประมุขของโฮเฮนโซลเลิร์นก็อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ปรัสเซียและเยอรมนี คำอ้างเหล่านี้ไม่สามารถแยกจากกันได้ตามรัฐธรรมนูญของจักรวรรดิเยอรมนีที่ระบุว่าผู้ใดที่เป็นจักรพรรดิปรัสเซียผู้นั้นก็เป็นจักรพรรดิเยอรมนีด้วย

ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ปรัสเซียและเยอรมันของราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์น
ภาพ พระนาม ช่วงเวลา หมายเหตุ
วิลเฮล์มที่ 2 ค.ศ. 1918-ค.ศ. 1941 พำนักลี้ภัยอยู่ในเนเธอร์แลนด์
จนสิ้นพระชนม์
เจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซีย ค.ศ. 1941-ค.ศ. 1951
เจ้าชายลุยส์ แฟร์ดีนันด์ เจ้าชายแห่งปรัสเซีย ค.ศ. 1951-ค.ศ. 1994
เกออร์ค ฟรีดริช เจ้าชายแห่งปรัสเซีย ตั้งแต่ ค.ศ. 1994

อ้างอิง

[แก้]
  1. เลือกโดยสภาฟรังเฟิร์ตแห่งชาติ ให้เป็น Imperial Vicar ของ German Reich (German Reich) สมาพันธรัฐเยอรมันได้รับการยุบ
  2. Frederick William IV and the Prussian Monarchy 1840-1862, by David E. Barclay, (Oxford, 1995)
  3. He was proclaimed German Emperor on that day.

ดูเพิ่ม

[แก้]