ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่น้ำโขง"

พิกัด: 33°42′30″N 94°41′42″E / 33.708333°N 94.695°E / 33.708333; 94.695
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ผู้บ่าวไทบ้าน (คุย | ส่วนร่วม)
555555
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
ครับ
{{กล่องข้อมูล แหล่งน้ำ
| name = แม่น้ำโขง
| map = Mekong River watershed.png
| map_caption = แผนที่แสดงเขตระบบแม่น้ำของแม่น้ำโขง
| image = Golden Triangel at Amphoe Chiang Saen.jpg
| image_caption = แม่น้ำโขงบริเวณ[[สามเหลี่ยมทองคำ]] [[อำเภอเชียงแสน]] [[จังหวัดเชียงราย]]
<!-- ระบบอุทกวิทยา -->
| watershed_basin = มหาสมุทรแปซิฟิก
| river_system = [[ระบบแม่น้ำโขง]]
| main_basin = [[ลุ่มแม่น้ำโขง]]
| basin =
| sub_basin =
<!-- ข้อมูลทั่วไป -->
| type = แม่น้ำ
| watershed_area = 759,000 [[ตารางกิโลเมตร|ตร.กม.]] <ref>[http://www.rev.net/~aloe/river/ River System of the World]</ref>
| irrigation_area =
<!-- แหล่งน้ำไหล -->
| length = 4,880 [[กิโลเมตร|กม.]]
| passing_territories={{CHN}}<br />
{{MYA}}<br />
{{LAO}}<br />
{{THA}}<br />
{{CAM}}<br />
{{VIE}}<br />
| source_name =
| source_location =
| source_lat_d = 33
| source_lat_m = 42
| source_lat_s = 31
| source_lat_NS = N
| source_long_d = 94
| source_long_m = 41
| source_long_s = 44
| source_long_EW = E
| source_elevation = 5224
| mouth_name =
| mouth_location =
| mouth_elevation =
| avrwaterquan_all = 2,506.6 ล้าน [[ลูกบาศก์เมตร|ลบ.ม.]]
| avrwaterquan_parea = 73.99 [[ลิตร]]/[[วินาที]]/ตร.กม. <ref>[http://www.rid.go.th/b-2khon.htm ข้อมูล 25 ลุ่มน้ำประธาน] ศูนย์ข้อมูล[[กรมชลประทาน]]</ref>
}}
'''แม่น้ำโขง''' ({{lang-my|မဲခေါင်မြစ်}}; {{lang-lo|ແມ່ນ້ຳຂອງ}}; {{lang-km|ទន្លេដ៏ធំ}}; {{lang-vi|Mê Kông}}) มีต้นกำเนิดจาก[[เทือกเขาหิมาลัย]] ไหลผ่านบริเวณที่ราบสูงทิเบตและ[[มณฑลชิงไห่]] [[ประเทศจีน]] ผ่าน[[ประเทศจีน]] [[ประเทศพม่า]] [[ประเทศลาว]] [[ประเทศไทย]] [[ประเทศกัมพูชา]] และออกสู่[[ทะเลจีนใต้]]ที่[[ประเทศเวียดนาม]] มีความยาวทั้งหมด 4,880 กิโลเมตร เป็นความยาวใน[[ประเทศจีน]] 2,130 กิโลเมตร ช่วงที่แม่น้ำไหลผ่าน[[ประเทศจีน]]มีชื่อเรียกว่า '''แม่น้ำหลานชาง''' หรือ '''หลานชางเจียง''' (จีนตัวย่อ: {{lang|zh|澜沧江}}, จีนตัวเต็ม: {{lang|zh|瀾滄江}}) แปลว่า "แม่น้ำที่มีความเชี่ยวกราก" และเมื่อไหลผ่านเข้าเขต[[ประเทศพม่า]]และ[[ประเทศลาว]] เรียกว่า '''แม่น้ำของ''' รวมถึง[[คำเมือง]][[ล้านนา]]ก็เรียก '''น้ำของ''' เช่นกัน ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า '''แม่น้ำโขง'''

ลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือ มีตลิ่งที่สูงชันมากทั้งสองฝั่ง ไหลเลี้ยวเลาะไปตามไหล่เขา กระแสน้ำจะไหลจากทางเหนือลงสู่ทางใต้ตลอดทั้งปี ระดับน้ำในฤดูฝนกับฤดูแล้งจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ความเร็วของกระแสน้ำขึ้นอยู่กับแต่ละฤดูกาล ดินในแม่น้ำโขงเป็นดินทราย มีเกาะแก่งน้อยใหญ่กว่าหนึ่งร้อยแห่งเรียงรายตลอดแม่น้ำ การที่แม่น้ำโขงไหลผ่านหลายประเทศเช่นเดียวกับ[[แม่น้ำดานูบ]]ในยุโรป ทำให้บางคนเรียกว่าแม่น้ำนานาชาติ และทำให้ได้รับการขนานนามว่า '''แม่น้ำดานูบตะวันออก'''

นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]]ร่วมกับ[[แม่น้ำแยงซี]]และ[[แม่น้ำสาละวิน]]ในเขตพื้นที่[[มณฑลยูนนาน]] ภายใต้ชื่อ '''[[พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน]]''' พื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง

สัตว์น้ำขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญและพบได้เฉพาะในแม่น้ำโขงได้แก่ [[ปลาบึก]]


== แม่น้ำโขงกับความเชื่อพื้นบ้าน ==
== แม่น้ำโขงกับความเชื่อพื้นบ้าน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:22, 14 พฤษภาคม 2561

ครับ

แม่น้ำโขงกับความเชื่อพื้นบ้าน

คนไทยใหญ่ และคนลาวมีความเชื่อเกี่ยวกับพญานาค หรืองูขนาดใหญ่ที่มีฤทธิ์มาก ว่าอาศัยอยู่ในแม่น้ำโขง ตำนานพญานาคที่เกี่ยวข้องกับแม่น้ำโขงก็เช่น ตำนานวังนาคินทร์คำชะโนด

นอกจากนี้ ทุกวันออกพรรษาจะมีประชาชนจำนวนมากไปเยือนริมฝั่งแม่น้ำของในประเทศไทย แถบอำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย เพื่อดูปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาค ซึ่งสร้างรายได้ให้แก่จังหวัดเป็นอย่างมาก จังหวัดที่มีปรากฏการณ์บั่งไฟพญานาคที่มีประชาชนนิยมไปเฝ้าดูมากที่สุด คือ จังหวัดหนองคาย ซึ่งในช่วงระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา มีกลุ่มนักวิจัยจากหลายสถาบันได้ออกมาชี้ชัด หรือหาหลักฐานอธิบายปรากฏการณ์ดังกล่าว ว่าเกิดจากกลุ่มก๊าซธรรมชาติที่มีอยู่ในแม่น้ำโขง อาทิเช่น ก๊าซมีเทน เป็นต้น แต่ก็ยังมิได้มีหลักฐานชี้ชัดเป็นที่แน่นอน ว่าเหตุการณ์ดังกล่าว เกิดจากการกระทำของพญานาค หรือ เกิดจากการกระทำของธรรมชาติ

แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญสำหรับการชมภูมิทัศน์ของลำน้ำโขงที่มีชื่อเสียงได้แก่ บริเวณสามเหลี่ยมทองคำ ตอนบนของจังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นบริเวณที่เป็นรอยต่อระหว่างพรมแดน 3 ประเทศ ได้แก่ ไทย ลาว และพม่า

ลำน้ำสาขา

ลำน้ำสาขาซึ่งไหลลงแม่น้ำโขงทั้งทางตรงและทางอ้อม แบ่งตามระบบลุ่มน้ำประธาน ประกอบด้วย

ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโขง

ลุ่มน้ำกก

ลุ่มน้ำชี

ลุ่มน้ำมูล

ลุ่มน้ำโตนเลสาบ

ทิวทัศน์แม่น้ำโขงก่อนพระอาทิตย์ตก

สะพานข้ามแม่น้ำโขง

ภายในประเทศจีน

  • สะพาน Lan Cang และ Lushi
  • สะพาน S323

ภายในประเทศจีน-ลาว

พรมแดนประเทศพม่า-ลาว

  • สะพานมิตรภาพพม่า-ลาว

พรมแดนประเทศไทย-ลาว

ภายในประเทศลาว

  • สะพานไชยบุรี-หลวงพระบาง
  • สะพานปากเซ
  • สะพานเมืองของ
  • สะพานอุดมไซ

ภายในประเทศกัมพูชา

  • สะพาน Prek Tamak
  • สะพานคิซุนะ
  • สะพาน Takhmao
  • สะพาน Prek Kdam

ภายในประเทศกัมพูชา-ลาว

ภายในประเทศเวียดนาม

  • สะพานเกิ่นเทอ (ข้ามแม่น้ำบาสัก - แม่น้ำสาขาของแม่น้ำโขง)
  • สะพาน Mỹ Thuận
  • สะพาน Rạch Miễu

ภายในประเทศเวียดนาม-ลาว

ความสัมพันธ์ทางสื่อสารมวลชนกับชีวิตชาวแม่น้ำโขง

Mekong Community TV (MCTV)

เป็นการเสนอข่าวสารและข้อมูลต่างๆของกลุ่มประเทศลุ่มแม่น้ำโขง ออกอากาศในข่าวภาคค่ำทาง สถานีโทรทัศน์ไอทีวี และ สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2551 โดยได้ร่วมมือกับสถานีโทรทัศน์แต่ละประเทศบนลุ่มน้ำโขง 5 ประเทศ ตัวแทนประเทศละ 1 สถานี มีดังต่อไปนี้ (ไม่มีตัวแทนจากประเทศพม่า)

รายการแม่น้ำโขง มหานทีแห่งชีวิต

สัญลักษณ์รายการ แม่น้ำโขง มหานทีแห่งชีวิต

รายการแม่น้ำโขง มหานทีแห่งชีวิต ถือว่าเป็นรายการประเภทสารคดีที่เล่าถึงชีวิตของคนบนผืนแผ่นดินลุ่มน้ำโขง ทั้ง ประเทศ ซึ่งร่วมมือสร้างสารคดี เป็นเวลายาวนานถึง 6 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ถึง พ.ศ. 2551 จำนวนการออกอากาศมีทั้งสิ้น 20 ตอน โดยในประเทศไทย ออกอากาศในปี พ.ศ. 2551 รายการนี้ ถือว่าเป็นความร่วมมือกันระหว่าง สถานีโทรทัศน์แต่ละประเทศบนลุ่มน้ำโขง 6 ประเทศ ตัวแทนประเทศละ 1 สถานี มีดังต่อไปนี้

แม่น้ำโขงกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อม

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

ไม่มีอะไรเลย ดูที่บทความ ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำโขง

อ้างอิง

  1. ข้อมูลแหล่งน้ำ ศูนย์ปฏิบัติการณ์จังหวัดสระแก้ว

แหล่งข้อมูลอื่น

33°42′30″N 94°41′42″E / 33.708333°N 94.695°E / 33.708333; 94.695