บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2563
ด้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2563
มกราคม[แก้]
- 1 มกราคม –
- เดวิด สเติร์น อดีตกรรมการสมาคมบาสเกตบอลแห่งชาติ (เกิด 22 กันยายน พ.ศ. 2485)[1][2]
- เบงกท์ เลวิน นักแข่งขันกีฬาชาวสวีเดน (เกิด พ.ศ. 2501)
- คริส ปัตติกาวา ผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวอินโดนีเซีย (เกิด 1 ตุลาคม พ.ศ. 2483)
- 2 มกราคม –
- ศาสตราจารย์ยูนาฮาร์ อิลยาส ครูและนักวิชาการและนักการเมืองชาวอินโดนีเซีย (เกิด 22 กันยายน พ.ศ. 2499)
- เวโรนีคา ฟิทซ์ นักแสดงชาวเยอรมัน (เกิด 28 มีนาคม พ.ศ. 2479)
- 3 มกราคม –
- อบู มาห์ดี อัล-มูฮานดิส ผู้บัญชาการทางการเมืองและการทหารของอิรัก-อิหร่าน (เกิด 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497)
- กอเซม โซเลย์มอนี นายพลชาวอิหร่าน (เกิด 11 มีนาคม พ.ศ. 2500)[3]
- โรเบิร์ต บลานช์ นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 30 มีนาคม พ.ศ. 2505)
- 4 มกราคม –
- กูกุม กัมบีรา นักแต่งเพลงและนักออกแบบท่าเต้นและผู้ประกอบการชาวซุนดา-อินโดนีเซีย (เกิด 4 เมษายน พ.ศ. 2488)
- พระครูนิทัศนพลธรรม (ต่อ พลธมฺโม) พระเถระชั้นผู้ใหญ่ในจังหวัดนครสวรรค์ (เกิด 12 มีนาคม พ.ศ. 2462)
- 5 มกราคม –
- เมียน ซูกันดี นักการเมืองชาวอินโดนีเซีย (เกิด 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2477)
- ฮันส์ ทิลคอฟสกี้ นักฟุตบอลชาวเยอรมัน (เกิด 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2478)
- กูรี อิงเกบริกต์เซ่น อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกิจการสังคมและสุภาพนอร์เวย์ (เกิด 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2495)
- 6 มกราคม – เรีย ไอราวัณ นักแสดง และนักร้อง และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอินโดนีเซีย (เกิด 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2512)
- 7 มกราคม – เอลิซาเบธ เวิร์ตเซล นักเขียน และนักข่าว และนักกฎหมายชาวอเมริกัน (เกิด 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2510)
- 8 มกราคม –
- อินฟันตาปีลาร์ ดัชเชสแห่งบาดาโคซ พระธิดาใน อินฟันเตฆวน เคานต์แห่งบาร์เซโลนา (ประสูติ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2479)
- ปีลาร์ เด บอร์บอน เจ้าหญิงแห่งสเปน (ประสูติ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2479)
- บัค เฮนรี นักแสดงและนักเขียนบทและผู้กำกับภาพยนตร์และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวอเมริกัน และผู้ได้รับรางวัลออสการ์ (เกิด 9 ธันวาคม พ.ศ. 2473)
- 9 มกราคม – ประพันธ์ศักดิ์ กมลเพ็ชร นักการเมืองชาวไทย (เกิด 7 ธันวาคม พ.ศ. 2481)
- 10 มกราคม –
- โมซัมเมล ฮอสเซน นักการเมืองชาวบาเกอร์แฮต (เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2483)
- สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านกอบูส บิน ซะอีด อัสซะอีด สุลต่านแห่งโอมาน (พระราชสมภพ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483)
- 11 มกราคม –
- อลานา ฟิลิปปี นักร้อง และนักแต่งเพลงชาวฝรั่งเศส (เกิด 11 กันยายน พ.ศ. 2503)
- ทอม เบลโซ นักแข่งรถชาวเดนมาร์ก (เกิด 27 สิงหาคม พ.ศ. 2485)
- 12 มกราคม – โรเจอร์ สครูตอง นักปรัชญา และนักเขียนชาวอังกฤษ (เกิด 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2487)
- 13 มกราคม –
- อภิเชษฐ์ งามมีศรี อดีตนักแสดงชาวไทย[4]
- โทนี่ เวชสเลฟ นักแต่งเพลง และนักร้อง และครูชาวเดนมาร์ก (เกิด 25 ตุลาคม พ.ศ. 2469)
- เบเนดิคตัส อบต นักการเมืองชาวอินโดนีเซีย (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2518)
- 14 มกราคม – แจ็ก เคโฮ นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477)
- 15 มกราคม –
- คริสโตเฟอร์ โทลคีน นักเขียนชาวอังกฤษ (เกิด 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467)
- ร็อกกี จอห์นสัน นักมวยปล้ำอาชีพชาวแคนาดา (เกิด 24 สิงหาคม พ.ศ. 2487)
- 16 มกราคม –
- เจ้า จงเสียง พิธีกรรายการโทรทัศน์ และผู้ประกาศข่าวชาวจีน (เกิด 16 มกราคม พ.ศ. 2485)
- พระภาวนาวิสุทธิญาณเถร (แบน ธนากโร) พระเถระสายพระป่าในประเทศไทย (เกิด 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2471)[5][6]
- 17 มกราคม –
- 19 มกราคม – สายฟานนูร์ นักการเมืองชาวอินโดนีเซีย (เกิด 21 สิงหาคม พ.ศ. 2499)
- 21 มกราคม – เทอร์รี โจนส์ นักแสดงตลก นักเขียนบท นักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนชาวเวลส์ (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485)
- 23 มกราคม – เคลย์ตัน คริสเตนเซน นักวิชาการและที่ปรึษาทางธุรกิจและผู้นำทางศาสนาชาวอเมริกัน (เกิด 6 เมษายน พ.ศ. 2495)
- 24 มกราคม –
- ร็อบ เรนเซนบริงก์ นักฟุตบอลชาวดัตช์ (เกิด 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2490)
- ชัย ชิดชอบ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร (เกิด 5 เมษายน พ.ศ. 2471)[7]
- สยามเซอร์ อันดิลี อดีตนายกเทศมนตรีเมืองเทอร์นาเต (เกิด 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494)
- 26 มกราคม –
- จอห์นนี่ อินโด นักแสดงชาวอินโดนีเซีย (เกิด 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2491)
- โคบี ไบรอันต์ นักบาสเกตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 23 สิงหาคม พ.ศ. 2521)
- พระครูนิยุตต์ธรรมกิจ (เสียน สธัมโม) อดีตเจ้าอาวาสวัดอินทาราม (เกิด 25 มีนาคม พ.ศ. 2475)
- 30 มกราคม – จอห์น เอันเดร็ตติ นักแข่งรถชาวอเมริกัน (เกิด 12 มีนาคม พ.ศ. 2506)
- 31 มกราคม –
- คาเลด บิชารา นักธุรกิจและผู้ประกอบการชาวอียิปต์ (เกิด 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2514)
- ธนภัทร พริ้งตระกูล นักแสดงชาวไทย (เกิด 25 มีนาคม พ.ศ. 2538)[8]
- เซซาร์ ซาบาล่า นักฟุตบอลชาวปารากวัย (เกิด 3 มิถุนายน พ.ศ. 2504)
กุมภาพันธ์[แก้]
- 3 กุมภาพันธ์ – อุทัย แก้วละเอียด ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) (เกิด 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2475)[9]
- 5 กุมภาพันธ์ – เคิร์ก ดักลาส นักแสดง และผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้ผลิตภาพยนตร์ชาวอเมริกัน (เกิด 9 ธันวาคม พ.ศ. 2459)
- 7 กุมภาพันธ์ – หลี่ เหวินเลี่ยง จักษุแพทย์ชาวจีน (เกิด 12 ตุลาคม พ.ศ. 2529)
- 8 กุมภาพันธ์ - อี แฮ-ว็อน พระราชนัดดาในจักรพรรดิโคจง (ประสูติ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2462)
- 9 กุมภาพันธ์ - พลตำรวจโทตระกูล ทาอาษา นายตำรวจชาวไทย (เกิด 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2527)[10][11]
- 12 กุมภาพันธ์ - อรุณ อิ่มเขียว (เจน นาทภูมิ) นักแสดงชาวไทย
- 14 กุมภาพันธ์ – สุรางค์ ดุริยพันธุ์ นักร้องเพลงชาวไทย และศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) (เกิด 8 เมษายน พ.ศ. 2480)
- 16 กุมภาพันธ์ – แฮร์รี เกร็กก์ อดีตนักฟุตบอลชาวไอร์แลนด์เหนือ (เกิด 27 ตุลาคม พ.ศ. 2475)
- 19 กุมภาพันธ์ - เยนส์ ไนการ์ด นัดเซน อดีตนักออกแบบของเล่นชาวเดนมาร์ก (เกิด 25 มกราคม พ.ศ. 2485)[12][13]
- 25 กุมภาพันธ์ -
- ฮุสนี มุบาร็อก อดีตประธานาธิบดีอียิปต์ (เกิด 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2471)
- ดมีตรี ยาซอฟ นายพลชาวรัสเซีย และจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต (เกิด 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467)
- 26 กุมภาพันธ์ – แนจมีแย ฮอจา นักการเมืองชาวแอลเบเนีย (เกิด 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2464)
- 27 กุมภาพันธ์ – เรืออากาศตรีสุเทพ วงศ์กำแหง นักร้องลูกกรุงชาวไทยและศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง) (เกิด 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2477)
มีนาคม[แก้]
- 2 มีนาคม – มุฮัมมัด เมียร์โมฮัมมาดี นักการเมืองชาวอิหร่าน (เกิด พ.ศ. 2491)
- 4 มีนาคม – ฆาบิเอร์ เปเรซ เด กูเอยาร์ เลขาธิการแห่งสหประชาชาติ (เกิด พ.ศ. 2463)
- 5 มีนาคม – เจ้าชายมัคส์ เอมานูเอ็ลแห่งทวร์และทักซิส พระโอรสใน เจ้าชายราฟาเอล แรนีแยแห่งทวร์นและทัคซิส (ประสูติ 7 กันยายน พ.ศ. 2478)
- 6 มีนาคม – แมคคอย ไทเนอร์ นักเปียโนแจ๊สชาวอเมริกัน (เกิด 11 ธันวาคม พ.ศ. 2481)
- 7 มีนาคม – คณากร เพียรชนะ อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะชั้นต้นในศาลจังหวัดยะลา (เกิด 18 ธันวาคม พ.ศ. 2512)
- 8 มีนาคม – แมกซ์ ฟอน ซีโดว นักแสดงชาวสวีเดน (เกิด 10 เมษายน พ.ศ. 2472)
- 9 มีนาคม – แอนตัน คอปโปลา ตัวนำชาวอเมริกัน (เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2460)
- 13 มีนาคม - อุดรพันธ์ จันทรวิโรจน์ นักการเมืองชาวไทย (เกิด 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2489)
- 20 มีนาคม -
- เคนนี โรเจอส์ นักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 21 สิงหาคม พ.ศ. 2481)
- มารีโน กวาเรซีมิน นักการเมืองชาวอิตาลี (เกิด 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480)
- 21 มีนาคม – โลเรนโซ ซันซ์ นักธุรกิจและประธานสโมสรฟุตบอลชาวสเปน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2486)[14]
- 23 มีนาคม - โซโรโร มากัมบะ นักข่าวชาวซิมบับเว (เกิด 17 มกราคม พ.ศ. 2533)
- 24 มีนาคม -
- โลเรนโซ อักกวาโรเน นักการเมืองและทนายความชาวอิตาลี (เกิด 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474)
- รองศาสตราจารย์ประภาพันธุ์ กรโกสียกาจ พระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช (ประสูติ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2472)
- 25 มีนาคม – มาร์ค บลัม นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2493)
- 26 มีนาคม -
- เจ้าหญิงมาเรีย เทเรซาแห่งบูร์บง-ปาร์มา พระธิดาใน เจ้าชายซาเวียแห่งบูร์บง-ปาร์มา (ประสูติ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2476)
- เมงกี โคบาร์รูเบียส นักแสดงชาวฟิลิปปินส์ (เกิด 10 สิงหาคม พ.ศ. 2496)
- 29 มีนาคม -
- ปาโอโล ปาโอเลตตี อดีตนักกีฬารักบี้ยูเนียน และเจ้าหน้าที่การแข่งขันรักบี้ยูเนียน และนักแสดงละครเวทีชาวอิตาลี (เกิด 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2495)
- สุวรรณ วลัยเสถียร นักกฎหมายชาวไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (เกิด 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2488)
- เค็ง ชิมูระ นักแสดงตลกชาวญี่ปุ่น (เกิด 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493)[15]
- 30 มีนาคม – บิล วิเทอส์ นักร้อง และนักดนตรีชาวอเมริกัน (เกิด 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2481)[16]
- 31 มีนาคม – อับดุล ฮาลิม คัดดัม นักการเมืองชาวซีเรีย (เกิด 15 กันยายน พ.ศ. 2475)
เมษายน[แก้]
- 1 เมษายน -
- โทนี แอนเดอร์สัน นักฟุตบอลชาวออสเตรเลีย (เกิด 31 มกราคม พ.ศ. 2485)
- นูร์ ฮะซัน ฮุเซน อดีตนายกรัฐมนตรีโซมาเลีย (เกิด 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2480)[17]
- เอลลิส มาร์ซาลิส จูเนียร์ นักเปียโนชาวอเมริกัน (เกิด 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477)
- อดัม ชเลซิงเกอร์ นักดนตรีชาวอเมริกัน (เกิด 31 ตุลาคม พ.ศ. 2510)
- ประจวบ ไชยสาส์น อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยรามคำแหง (เกิด 20 สิงหาคม พ.ศ. 2487)[18][19]
- 2 เมษายน -
- อ็อสคาร์ ฟิชเชอร์ นักการเมืองชาวเยอรมัน (เกิด 19 มีนาคม พ.ศ. 2466)
- วิลเลียม แฟรงค์แลนด์ นักภูมิคุ้มกันชาวอังกฤษ (เกิด 19 มีนาคม พ.ศ. 2455)
- ฮวน จิเมเนซ ศิลปินหนังสือการ์ตูนชาวอาร์เจนตินา (เกิด 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486)
- 3 เมษายน –
- พลเอกคอนสแตน วิลเยิน นายทหารและนักการเมืองชาวแอฟริกาใต้ (เกิด 28 ตุลาคม พ.ศ. 2476)
- ดวงชีวัน โกมลเสน อดีตนักแสดงชาวไทย (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2499)[20][21]
- 4 เมษายน -
- ลุยส์ เอดูอาร์โด ออต นักดนตรี และนักร้อง และนักแต่งเพลง และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวสเปน (เกิด 13 กันยายน พ.ศ. 2486)
- ธนกร พงษ์สุวรรณ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย[22]
- ราฟาเอล ลีโอนาร์โด กาเยฆัส โรเมโร อดีตประธานาธิบดีฮอนดูรัส (เกิด 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486)
- 5 เมษายน -
- ออเนอร์ แบล็คแมน นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 22 สิงหาคม พ.ศ. 2468)
- มาห์มุด ญิบรีล นักการเมืองชาวลิเบีย (เกิด 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2495)
- พศุตม์ เสนะเปรม (กัญจน์ KAN) นักร้องชาวไทย (เกิด 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2540)[23]
- 6 เมษายน -
- ราโดเมียร์ แอนติช นักฟุตบอลและผู้จัดการทีมชาวเซอร์เบีย (เกิด 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2491)
- เฮเลน เอย์ลอน ศิลปินสตรีนิยมมัลติมีเดียชาวอเมริกัน (เกิด 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474)
- เจมส์ ดรูรี นักแสดงและนักธุรกิจชาวอเมริกัน (เกิด 18 เมษายน พ.ศ. 2477)
- อัล คาลีน นักเบสบอลชาวอเมริกัน (เกิด 19 ธันวาคม พ.ศ. 2477)
- เฟร็ด ซิงเกอร์ นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน (เกิด 27 กันยายน พ.ศ. 2467)
- 7 เมษายน -
- แจน เคน นักประวัติศาสตร์ชาวเช็ก (เกิด 22 สิงหาคม พ.ศ. 2473)
- จอห์น ไพรน์ นักร้อง และนักแต่งเพลงคันทรีชาวอเมริกัน (เกิด 10 ตุลาคม พ.ศ. 2489)
- พีราวุธ สว่างวิทย์ นักจัดรายการวิทยุลูกทุ่งชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2486)[24]
- 9 เมษายน – มอร์ต ดรักเกอร์ นักวาดภาพล้อเลียน และนักการ์ตูนชาวอเมริกัน (เกิด 22 มีนาคม พ.ศ. 2472)
- 10 เมษายน -
- เอนรีเก มูกิกา นักกฎหมายและนักการเมืองชาวสเปน (เกิด 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475)
- โนบุฮิโกะ โอบายาชิ ผู้กำกับภาพยนตร์ และนักเขียนบท และบรรณาธิการภาพยนตร์ และโฆษณาทางโทรทัศน์ชาวญี่ปุ่น (เกิด 9 มกราคม พ.ศ. 2481)[25]
- กีรติ ชลสิทธิ์ อดีตดีไซเนอร์ชาวไทย[26]
- ณภัทร ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวไทย[27]
- 11 เมษายน -
- น้ำมนต์ จ้อยรักษา นักแสดง และผู้กำกับละครโทรทัศน์ชาวไทย[28][29]
- จอห์น ฮอร์ตัน คอนเวย์ นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ (เกิด 26 ธันวาคม พ.ศ. 2480)
- เอเดม โกดโฌ่ นักการเมืองชาวโตโก (เกิด 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2481)
- 12 เมษายน -
- ปีเตอร์ โบเน็ตตี้ นักเตะสมาคมฟุตบอลชาวอังกฤษ (เกิด 27 กันยายน พ.ศ. 2484)[30]
- สเตอร์ลิง มอสส์ นักแข่งรถชาวอังกฤษ (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2472)
- เคจิ ฟูจิวาระ นักพากย์ชาวญี่ปุ่น (เกิด 5 ตุลาคม พ.ศ. 2507)
- ผัน จันทรปาน อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2481)
- 13 เมษายน –
- อนันต์ กาญจนพาสน์ ประธานกรรมการบริษัท บางกอกแลนด์ จำกัด (มหาชน) (เกิด 2 มิถุนายน พ.ศ. 2484)[31][32]
- เรียว คาวาซากิ นักกีตาร์แจ๊สชาวญี่ปุ่น (เกิด 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490)
- 16 เมษายน – ฮาเวิร์ด ฟิงเกิล ผู้ประกาศนักมวยปล้ำอาชีพ (เกิด 7 มิถุนายน พ.ศ. 2493)
- 17 เมษายน – นอร์แมน ฮันเตอร์ นักฟุตบอลชาวอังกฤษ (เกิด 29 ตุลาคม พ.ศ. 2486)
- 18 เมษายน – พอล เอช โอนีล นักการเมืองชาวอเมริกัน (เกิด 4 ธันวาคม พ.ศ. 2478)
- 19 เมษายน – ปีเตอร์ เครา ช่างภาพและนักเขียนชาวอเมริกัน (เกิด 22 มกราคม พ.ศ. 2481)
- 20 เมษายน – เฮเฮอร์สัน อัลวาเรซ นักการเมืองชาวฟิลิปปินส์ (เกิด 16 ตุลาคม พ.ศ. 2482)
- 21 เมษายน - ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ (พนมเทียน) นักเขียนนวนิยายชาวไทย และศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (เกิด 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474)[33][34]
- 22 เมษายน -
- กันย์ มุกดาสนิท นักแสดงชาวไทย[35][36]
- เชอร์ลีย์ ไนท์ นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2479)
- 23 เมษายน - คูมิโกะ โอกาเอะ นักแสดง และนักพากย์ และผู้จัดรายการโทรทัศน์ชาวญี่ปุ่น (เกิด 23 สิงหาคม พ.ศ. 2499)[37]
- 27 เมษายน -
- ชวลิต เสริมปรุงสุข ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (เกิด 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2482)[38][39]
- เบอร์นาร์ด เกอร์สเตน ผู้ผลิตละครชาวอเมริกัน (เกิด 30 มกราคม พ.ศ. 2466)
- ลินน์ ฮาร์เรลล์ นักเชลโล่ชาวอเมริกัน (เกิด 30 มกราคม พ.ศ. 2487)
- ไมเคิล โรบินสัน นักฟุตบอลชาวไอริช (เกิด 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2501)
- 28 เมษายน – โรเบิร์ต เมย์ บารอน เมย์แห่งอ็อกซ์ฟอร์ด นักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรเลีย (เกิด 8 มกราคม พ.ศ. 2479)
- 29 เมษายน -
- เดนิส โกลด์เบิร์ก นักเคลื่อนไหวชาวแอฟริกาใต้ (เกิด 11 เมษายน พ.ศ. 2476)
- อีร์ฟาน ข่าน นักแสดงชาวอินเดีย (เกิด 7 มกราคม พ.ศ. 2510)[40]
- 30 เมษายน -
- แซม ลอยด์ นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506)
- ริชี่ กปูร นักแสดงภาพยนตร์ชาวอินเดีย (เกิด 4 กันยายน พ.ศ. 2495)
- ซิลวี วินเซ็นต์ นักชาติพันธ์วิทยา และนักมานุษยวิทยาชาวแคนาดา (เกิด 27 เมษายน พ.ศ. 1941)
พฤษภาคม[แก้]
- 1 พฤษภาคม – พลจัตวาทู่นทิน อดีตนายกรัฐมนตรีพม่า (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2463)
- 3 พฤษภาคม –
- จอห์น อีริคสัน นักแสดงภาพยนตร์โทรทัศน์ชาวเยอรมัน-อเมริกัน (เกิด 25 กันยายน พ.ศ. 2469)
- ท่านหญิงชนัตถ์ ปิยะอุย ผู้ก่อตั้งและอดีตประธานบริษัท ดุสิตธานี จำกัด (มหาชน) อดีตสมาชิกวุฒิสภาไทย และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (เกิด 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2465)[41][42]
- พลเอกเทียนชัย สิริสัมพันธ์ นายทหารและนักการเมืองชาวไทย (เกิด 19 มีนาคม พ.ศ. 2467)[43]
- 4 พฤษภาคม – ดอน ชูลา นักฟุตบอลและโค้ชชาวอเมริกัน (เกิด 4 มกราคม พ.ศ. 2473)
- 7 พฤษภาคม -
- ดารณี ชาญเชิงศิลปกุล อดีตผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์พิมพ์ไทย และสถานีโทรทัศน์เคเบิลไทยสกายทีวี (เกิด 23 กันยายน พ.ศ. 2501)[44]
- อิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง (เกิด 22 มกราคม พ.ศ. 2507)[45]
- 9 พฤษภาคม –
- ลิตเทิล ริชาร์ด นักร้อง และนักแต่งเพลง และนักเปียโนชาวอเมริกัน (เกิด 5 ธันวาคม พ.ศ. 2475)
- โยฮันเนิส เบ็ค นักจริยธรรมสังคมชาวเยอรมัน (เกิด 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465)
- 12 พฤษภาคม – พลเอกสีสะหวาด แก้วบุนพัน อดีตนายกรัฐมนตรีลาว (เกิด 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2471)[46]
- 14 พฤษภาคม – แซลลี โรว์ลีย์ นักเคลื่อนไหวสังคม และนักทำเพชรชาวอเมริกัน (เกิด 20 ตุลาคม พ.ศ. 2474)
- 15 พฤษภาคม – ภิรมย์ พลวิเศษ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา (เกิด 7 สิงหาคม พ.ศ. 2508)[47][48]
- 16 พฤษภาคม – ลินน์ เชลตัน ผู้กำกับภาพยนตร์ และนักเขียนบท และบรรณาธิการภาพยนตร์ และนักแสดง และโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ชาวอเมริกัน (เกิด 27 สิงหาคม พ.ศ. 2508)
- 17 พฤษภาคม - แชด แกสปาร์ด นักมวยปล้ำอาชีพ และนักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 13 มกราคม พ.ศ. 2524)
- 18 พฤษภาคม – เคน ออสมอนด์ นักแสดง และเจ้าหน้าที่ตำรวจชาวอเมริกัน (เกิด 7 มิถุนายน พ.ศ. 2486)
- 19 พฤษภาคม –
- แอนนี่ เกล็น ทนายชาวอเมริกัน (เกิด 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463)
- ราวี ซาคาเรียส ผู้แก้ต่างคริสเตียนชาวแคนาดา-อเมริกัน (เกิด 26 มีนาคม พ.ศ. 2489)
- 20 พฤษภาคม –
- อดอลโฟ นิโคลาส หัวหน้าสังคมของพระเยซู (เกิด 29 เมษายน พ.ศ. 2479)
- สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (เกิด 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2496)[49]
- 21 พฤษภาคม – โอลิเวอร์ วิลเลียมสัน นักเศรษฐศาสตร์ชาวอเมริกัน (เกิด 27 กันยายน พ.ศ. 2475)
- 22 พฤษภาคม –
- แอชลีย์ คูเปอร์ นักเทนนิสชาวออสเตรเลีย (เกิด 15 กันยายน พ.ศ. 2479)
- เจอร์รี สโลน นักบาสเกตบอล และโค้ชชาวอเมริกัน (เกิด 28 มีนาคม พ.ศ. 2485)
- พระอาจารย์สุดใจ ทนฺตมโน พระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย สายพระป่าในประเทศไทย (เกิด 14 ตุลาคม พ.ศ. 2487)[50][51]
- 23 พฤษภาคม – ฮานะ คิมูระ นักมวยปล้ำอาชีพชาวญี่ปุ่น (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2540)
- 24 พฤษภาคม – จิมมี่ คอบบ์ มือกลองแจ๊สชาวอเมริกัน (เกิด 20 มกราคม พ.ศ. 2472)
- 26 พฤษภาคม – สแตนลีย์ โฮ นักลงทุนนักลงทุน และผู้ใจบุญชาวฮ่องกง (เกิด 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2464)
- 31 พฤษภาคม –
- คริสโต ผู้สร้างงานศิลปะเชิงสิ่งแวดล้อม (เกิด 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478)
- นอร์มัน แลมม์ แรบไบชาวอเมริกัน (เกิด 19 ธันวาคม พ.ศ. 1927)
มิถุนายน[แก้]
- 1 มิถุนายน
- ไมโรสลาฟ สกอริก นักแต่งเพลงชาวยูเครน (เกิด 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2481)
- แมรี่ แพต กลีสัน นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493)
- พุฒ ล้อเหล็ก อดีตนักมวย และผู้ฝึกสอนมวยชาวไทย (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2495)[52]
- 2 มิถุนายน
- คาร์โล อูบบียลี นักแข่งมอเตอร์ไซค์ชาวอิตาลี (เกิด 22 กันยายน พ.ศ. 2472)
- เวส อันเซลด์ นักบาสเกตบอลและโค้ชชาวอเมริกัน (เกิด 14 มีนาคม พ.ศ. 2489)
- 3 มิถุนายน -
- จอห์นนี เมเจอรส์ นักฟุตบอล และผู้ฝึกสอนฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2478)
- เฮคเตอร์ ออร์เกตา นักแสดง และผู้กำกับภาพยนตร์ และนักเขียนบทชาวเม็กซิโก (เกิด 12 มกราคม พ.ศ. 2482)
- 5 มิถุนายน – โทมิซากุ คาวาซากิ กุมารแพทย์ชาวญี่ปุ่น (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2468)[53]
- 7 มิถุนายน - ศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สื่อผสม) (เกิด 8 มีนาคม พ.ศ. 2496)[54]
- 8 มิถุนายน – ปีแยร์ อึนกูว์เริงซีซา นักการเมืองชาวบุรุนดี (เกิด 18 ธันวาคม พ.ศ. 2507)
- 10 มิถุนายน -
- ศรัณยู วงษ์กระจ่าง นักแสดง และพิธีกร และผู้กำกับภาพยนตร์ และละครโทรทัศน์ และนักการเมือง และผู้ประกาศข่าวชาวไทย (เกิด 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503)[55][56]
- เอลิซาเบธ อานน์ เดอ เมสซี พระธิดาในเจ้าหญิงอ็องตัวแน็ตแห่งโมนาโก (ประสูติ 13 มกราคม พ.ศ. 2490)
- 11 มิถุนายน –
- เดนนิส โอนีล นักเขียนการ์ตูนชาวอเมริกัน (เกิด 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2482)
- ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ นักการเมืองชาวไทย (เกิด 8 ตุลาคม พ.ศ. 2490)[57][58]
- 14 มิถุนายน - โมฮัมหมัด-อาลี เคชาวาร์ซ นักแสดงชาวอิหร่าน (เกิด 15 เมษายน พ.ศ. 2473)
- 18 มิถุนายน – วีรา ลินน์ นักร้อง และนักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 20 มีนาคม พ.ศ. 2460)
- 21 มิถุนายน -
- 22 มิถุนายน - โจเอล ชูมาเกอร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ และนักเขียนบท และโปรดิวเซอร์ชาวอเมริกัน (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2482[63]
กรกฎาคม[แก้]
- 1 กรกฎาคม -
- ฮิว ดาวนส์ ผู้ประกาศข่าวชาวอเมริกัน (เกิด 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2464)[64]
- ไอด้า แฮนเดล นักไวโอลินและครูสอนไวโอลินชาวอังกฤษ-โปแลนด์ (เกิด 15 ธันวาคม พ.ศ. 2471)[65][66]
- เอฟเวอร์ตัน วีคส์ คริกเก็ตอินเดียตะวันตก (เกิด 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2468)
- อาคม เอ่งฉ้วน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (เกิด 5 มกราคม พ.ศ. 2494)[67][68]
- 3 กรกฎาคม -
- เอิร์ล คาเมรอน นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 8 สิงหาคม พ.ศ. 2460)
- สาโรจน์ คาน นักเต้น และนักออกแบบท่าเต้นชาวอินเดีย (เกิด 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2491)
- 4 กรกฎาคม -
- นาธาน โอร์มาน อดีตนักร้อง และนักแสดง และนักเขียนชาวไทย (เกิด 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2518)[69][70]
- มาร์ธา โรชา นางแบบชาวบราซิล (เกิด 19 กันยายน พ.ศ. 2479)
- 5 กรกฎาคม -
- คลีฟแลนด์ อีตัน นักดนตรีชาวอเมริกัน (เกิด 31 สิงหาคม พ.ศ. 2482)
- วิลลี โฮลดอร์ฟ นักกีฬาชาวเยอรมัน (เกิด 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2483)
- 6 กรกฎาคม -
- ชาร์ลี แดเนียลส์ นักร้อง และนักดนตรีชาวอเมริกัน (เกิด 28 ตุลาคม พ.ศ. 2479)
- โรนัลด์ เกรแฮม นักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกัน (เกิด 31 ตุลาคม พ.ศ. 2478)
- เอนนิโอ มอร์ริโคเน นักประพันธ์เพลงชาวอิตาลี (เกิด 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471)
- 8 กรกฎาคม – นายา ริเวรา นักแสดง และนักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 12 มกราคม พ.ศ. 2530)
- 9 กรกฎาคม – พัก ว็อน-ซุน นายกเทศมนตรีกรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ และนักการเมืองชาวเกาหลีใต้ (เกิด 26 มีนาคม พ.ศ. 2499)[71][72]
- 10 กรกฎาคม -
- แจ็ค ชาร์ลตัน นักฟุตบอลและผู้จัดการทีมชาวอังกฤษ (เกิด 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2478)
- แพ็ก ซ็อน-ย็อบ นายทหารของกองทัพสาธารณรัฐเกาหลี (เกิด 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463)
- มิลอส จาเคช นักการเมืองชาวเชโกสโลวัก (เกิด 12 สิงหาคม พ.ศ. 2465)
- 11 กรกฎาคม –
- กาเบรียลลา ทุชชี นักร้องชาวโอเปร่า (เกิด 4 สิงหาคม พ.ศ. 2472)
- พลเอกประมณฑ์ ผลาสินธุ์ อดีตผู้บัญชาการทหารบก (เกิด 8 ตุลาคม พ.ศ. 2478)[73][74]
- 12 กรกฎาคม -
- ฮัสซัน อับชีร ฟาราห์ ทหารผ่านศึกและนักการเมืองชาวโซมาเลีย (เกิด 20 มิถุนายน พ.ศ. 2488)
- แฟรงค์ ป๊อปเปอร์ นักประวัติศาสตร์ศิลป์ชาวฝรั่งเศส (เกิด 17 เมษายน พ.ศ. 2461)
- เคลลี่ เพรสตัน นักแสดง และนางแบบชาวอเมริกัน (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2505)
- วิม ซูอูร์เบียร์ นักฟุตบอลชาวดัตช์ (เกิด 16 มกราคม พ.ศ. 2488)
- 13 กรกฎาคม - ฮะซัน อัลเลาซี นักการเมือง และนักเขียนชาวเยเมน (เกิด พ.ศ. 2495)
- 17 กรกฎาคม – ซิลวิโอ มาร์โซลินี นักฟุตบอลชาวอาร์เจนตินา (เกิด 4 ตุลาคม พ.ศ. 2483)
- 18 กรกฎาคม –
- มิอูระ ฮารูมะ นักแสดง และนักร้องชาวญี่ปุ่น (เกิด 5 เมษายน พ.ศ. 2533)[75]
- ธรัญญา สัตตบุศย์ อดีตนักร้อง และนางแบบ และนักพากย์ชาวไทย (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2515)[76][77]
- 19 กรกฎาคม –
- นิโคไล ตานาเซียฟ อดีตนักการเมืองชาวคีร์กีซสถาน (เกิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488)
- ซูกรูลโล อดีตกวีชาวอุซเบกิสถาน (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2464)
- พิมพ์ปฏิภาณ พึ่งธรรมจิตต์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล) (เกิด 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481)[78][79]
- 21 กรกฎาคม - คันไซ ยามาโมโตะ อดีตนักออกแบบแฟชั่น และโปรดิวเซอร์ และงานอีเว้นท์ชาวญี่ปุ่น (เกิด 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2487)[80]
- 23 กรกฎาคม - มนัสนันท์ ปานดี อดีตนักแสดง และนางแบบชาวไทย (เกิด 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2528)
- 24 กรกฎาคม -
- เบนจามิน แมคาปา นักการเมืองชาวแทนซาเนีย (เกิด 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481)
- เรจิส ฟิลบิน อดีตพิธีกรรายการโทรทัศน์ และทอล์คโชว์ และเกมโชว์ และนักแสดง และตลก และนักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 25 สิงหาคม พ.ศ. 2474)[81][82]
- ศุภสิธ เตชะตานนท์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น (เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2485)
- 25 กรกฎาคม -
- 26 กรกฎาคม – ท่านหญิงโอลิเวีย เดอ ฮาวิลแลนด์ นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2459)
- 30 กรกฎาคม -
- เฮอร์แมน เคน นักเขียน นักธุรกิจ และนักเคลื่อนไหวชาวอเมริกัน (เกิด 13 ธันวาคม พ.ศ. 2488)
- หลี่ เติงฮุย อดีตประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน (เกิด 15 มกราคม พ.ศ. 2465)[83][84]
สิงหาคม[แก้]
- 5 สิงหาคม – ฮะวา อาบดิ นักกิจกรรมสิทธิมนุษยชน และจักษุแพทย์ชาวโซมาเลีย (เกิด 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2490)
- 7 สิงหาคม – พลอาวุโสเล ขา เฟียว นัการเมืองชาวเวียดนาม และเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม (เกิด 27 ธันวาคม พ.ศ. 2474)[85]
- 9 สิงหาคม – เจมส์ ฮาร์ริส นักมวยปล้ำชาวแอฟริกา-อเมริกัน (เกิด 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2493)
- 13 สิงหาคม – กุลนาซาร์ เคลดี กวีชาวทาจิกิสถาน (เกิด 20 กันยายน พ.ศ. 2488)
- 23 สิงหาคม – เฉิน มู่เซิ่ง ผู้กำกับภาพยนตร์ และนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวฮ่องกง (เกิด 7 ตุลาคม พ.ศ. 2504)[86]
- 27 สิงหาคม -
- กาญจนา จินดาวัฒน์ อดีตนักแสดงชาวไทย (เกิด 1 ตุลาคม พ.ศ. 2501)[87][88]
- บ็อบ อาร์มสตรอง อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน (เกิด 3 ตุลาคม พ.ศ. 2482)
- 28 สิงหาคม – แชดวิก โบสแมน นักแสดง และโปรดิวเซอร์ชาวอเมริกัน (เกิด 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519)[89]
- 31 สิงหาคม – ปรณพ มุขรจี อดีตประธานาธิบดีอินเดีย (เกิด 11 ธันวาคม พ.ศ. 2478)[90]
กันยายน[แก้]
- 4 กันยายน - แกรี่ พีค็อก ผู้อเมริกันแจ๊สดับเบิ้ลเบส (เกิด 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2478)
- 5 กันยายน - เติมศักดิ์ จารุปราณ อดีตผู้ประกาศข่าว และพิธีกรชาวไทย (เกิด 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515)[91]
- 6 กันยายน – วอห์น โจนส์ นักคณิตศาสตร์ชาวนิวซีแลนด์ (เกิด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2495)
- 7 กันยายน - ปทุมวดี โสภาพรรณ นักร้อง และอดีตนักแสดงชาวไทย และภรรยาของรอง เค้ามูลคดี (เกิด 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492)[92]
- 10 กันยายน –
- ไดอาน่า ริกก์ นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2481)[93][94]
- ณรงค์ วงศ์วรรณ นักการเมืองชาวไทย (เกิด 25 ธันวาคม พ.ศ. 2468)[95][96]
- 14 กันยายน –
- เซ อาชินะ นักแสดงชาวญี่ปุ่น (เกิด 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526)
- บิล เกตส์ ซีเนียร์ ทนายความ และผู้ใจบุญชาวอเมริกัน (เกิด 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468)
- 17 กันยายน - พระธรรมมหาวีรานุวัตร (อำนวย จนฺทสโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดคลองโพธิ์ (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2476)
- 18 กันยายน – รูธ เบเดอร์ กินส์เบิร์ก นักนิติศาสตร์ชาวอเมริกัน (เกิด 15 มีนาคม พ.ศ. 1933)
- 19 กันยายน –
- จอห์น เทิร์นเนอร์ นายกรัฐมนตรีแคนาดา (เกิด 7 มิถุนายน พ.ศ. 2472)
- โรเบิร์ต สายควัน นักแสดงตลกชาวไทย-อเมริกัน (เกิด 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508)[97]
- 20 กันยายน - ประภาพร เชาวนาศิริ ผู้ประกาศข่าว และผู้สื่อข่าว และพิธีกรชาวไทย[98][99]
- 21 กันยายน – อาเธอร์ แอชกิน นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน (เกิด 21 กันยายน พ.ศ. 2465)
- 22 กันยายน – โรดวอริเออร์แอนิมอล อดีตนักมวยปล้ำชาวอเมริกัน (เกิด 12 กันยายน พ.ศ. 2503)
- 23 กันยายน –
- จูเลียตต์ เกรโก นักแสดง และนักร้องชาวฝรั่งเศส (เกิด 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470)
- สุคนธ์ พรพิรุณ นักแต่งเพลง และประพันธ์คำร้องเพลงไทยสากล และศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้ประพันธ์เพลงไทยสากล) (เกิด 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478)[100][101]
- แฮโรลด์ อีแวนส์ นักข่าวชาวอเมริกัน (เกิด 28 มิถุนายน พ.ศ. 2471)
- 25 กันยายน – เอสพี บาลาสุบราห์มานยัม นักร้องชาวอินเดีย (เกิด 4 มิถุนายน พ.ศ. 2489)
- 27 กันยายน –
- ยูริ ออร์ลอฟ นักฟิสิกส์ชาวโซเวียต (เกิด 13 สิงหาคม พ.ศ. 2467)
- จัสวันต์ สิงห์ นักการเมือง และนายทหารเกษียณอายุชาวอินเดีย (เกิด 3 มกราคม พ.ศ. 2481)
- ยูโกะ ทาเคอุชิ นักแสดงชาวญี่ปุ่น (เกิด 1 เมษายน พ.ศ. 2523)
- 29 กันยายน -
- เศาะบาห์ อัลอะห์มัด อัลญาบิร อัศเศาะบาห์ เจ้าผู้ครองรัฐแห่งรัฐคูเวต และพระโอรสใน เชคอะห์มัด อัลญาบิร อัศเศาะบาห์ (ประสูติ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2472)
- เฮเลน เรดดี นักร้อง และนักแต่งเพลงชาวออสเตรเลีย-อเมริกัน (เกิด 25 ตุลาคม พ.ศ. 2484)
- 30 กันยายน – พลเอกหญิง ท่านหญิงอภิรดี ยิ่งเจริญ คุณข้าหลวงผู้ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (ประสูติ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2469)[102]
ตุลาคม[แก้]
- 4 ตุลาคม – เคนโซ ทาคาดะ นักออกแบบแฟชั่นชาวญี่ปุ่น-ฝรั่งเศส (เกิด 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482)[103][104]
- 6 ตุลาคม – เอ็ดดี แวน แฮเลน นักดนตรีชาวอเมริกัน (เกิด 26 มกราคม พ.ศ. 2498)[105][106]
- 7 ตุลาคม – มาริโอ โมลินา นักเคมีชาวเม็กซิโก และผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี ประจำปี พ.ศ. 2538 (เกิด 19 มีนาคม พ.ศ. 2486)[107][108]
- 8 ตุลาคม - อาลี คาลิฟ กาลาอิดห์ นักการเมืองชาวโซมาเลีย (เกิด 15 ตุลาคม พ.ศ. 2484)
- 9 ตุลาคม – พระสาสนโสภณ (โกศล สิรินฺธโร) พระภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดสุรินทร์ (เกิด 30 มิถุนายน พ.ศ. 2467)[109]
- 14 ตุลาคม - คูนิโอะ นากามูระ นักการเมืองชาวปาเลา (เกิด 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486)
- 16 ตุลาคม – อับดุล อาซิซ ชัมซุดดิน นักการเมืองชาวมาเลเซีย (เกิด 10 มิถุนายน พ.ศ. 2481)[110][111]
- 23 ตุลาคม – ปรีดา พัฒนถาบุตร อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย (เกิด 2 มกราคม พ.ศ. 2470)[112][113]
- 24 ตุลาคม – เจ้าชายอับดุล อาซิมแห่งบรูไน พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์ (ประสูติ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2525)[114][115]
- 25 ตุลาคม – อี ก็อน-ฮี นักธุรกิจชาวเกาหลีใต้ (เกิด 9 มกราคม พ.ศ. 2485)[116][117]
- 31 ตุลาคม – ฌอน คอนเนอรี อดีตนักแสดงชาวสกอตแลนด์ (เกิด 25 สิงหาคม พ.ศ. 2473)[118][119]
พฤศจิกายน[แก้]
- 2 พฤศจิกายน -
- ตรีวิทย์ สมพันธ์แพ (ศรีบาน ซุปเปอร์โจ๊ก) อดีตนักแสดงตลกชาวไทย (เกิด 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503)[120]
- พัค จี-ซุน นักแสดง และตลกชาวเกาหลีใต้ (เกิด 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2527)[121][122]
- 4 พฤศจิกายน – มณฑินี ตั้งพงษ์ อดีตนักเทนนิสชาวไทย (เกิด 30 เมษายน พ.ศ. 2528)[123]
- 8 พฤศจิกายน –
- อเล็กซ์ เทรเบค พิธีกรรายการเกมโชว์ และบุคลิกทางโทรทัศน์ชาวแคนาดา-อเมริกัน (เกิด 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2483)[124][125]
- ดุสิต รังคสิริ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม (เกิด 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484)[126]
- 11 พฤศจิกายน – เจ้าชายเคาะลีฟะฮ์ บิน ซัลมาน อัลเคาะลีฟะฮ์ นายกรัฐมนตรีบาห์เรน และพระอนุชาในเชคอีซา บิน ซัลมาน อัลเคาะลีฟะฮ์ (ประสูติ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478)[127][128]
- 12 พฤศจิกายน -
- มาซาโตชิ โคชิบะ นักฟิสิกส์ชาวญี่ปุ่น และผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี พ.ศ. 2545 (เกิด 19 กันยายน พ.ศ. 2469)
- เจิง เหว่ยเฉวียน นักแสดงชาวฮ่องกง (เกิด 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503)
- 16 พฤศจิกายน - วาสนา บุญภูพันธ์ตันติ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ (เกิด 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2474)
- 18 พฤศจิกายน – อูมาร์ อาร์เทห์ กาหลิบ อดีตนายกรัฐมนตรีโซมาเลีย (เกิด พ.ศ. 2473)[129][130]
- 25 พฤศจิกายน –
- จิราภรณ์ สิงห์เอี่ยม อดีตรองมิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2550[131]
- ดิเอโก มาราโดนา อดีตนักฟุตบอลชาวอาร์เจนตินา (เกิด 30 ตุลาคม พ.ศ. 2503)[132][133]
- 28 พฤศจิกายน – เดวิด พราวส์ นักแสดง และนักเพาะกาย และนักยกน้ำหนักชาวอังกฤษ (เกิด 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2478)[134][135]
- 29 พฤศจิกายน - นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค[136]
ธันวาคม[แก้]
- 1 ธันวาคม –
- เออร์เลนด์ รีอัน อดีตนักข่าว และนักเขียนชาวนอร์เวย์ (เกิด 15 มิถุนายน พ.ศ. 2484)
- จูน โรส เบลลามี อดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งพม่า (เกิด 1 มิถุนายน พ.ศ. 2475)[137][138]
- 2 ธันวาคม -
- วาเลรี ฌิสการ์ แด็สแต็ง อดีตประธานาธิบดีฝรั่งเศส (เกิด 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469)[139][140]
- แพต แพตเตอร์สัน อดีตนักมวยปล้ำอาชีพ และผู้บริหาร และผู้ประกาศ และกรรมการชาวแคนาดา-อเมริกัน (เกิด 19 มกราคม พ.ศ. 2484)[141][142]
- 3 ธันวาคม –
- อัลเบิร์ต ซัลวาโด อดีตนักเขียน และวิศวกรอุตสาหการชาวอันดอร์รา (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494)
- ธรรมปาล คุลาตี อดีตนักธุรกิจชาวอินเดีย (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2466)[143][144]
- 7 ธันวาคม – ชัก เยเกอร์ อดีตเจ้าหน้าที่กองทัพอากาศสหรัฐ และเสืออากาศชาวอเมริกัน (เกิด 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466)[145][146]
- 9 ธันวาคม – เปาโล รอสซี อดีตนักฟุตบอลชาวอิตาลี (เกิด 23 กันยายน พ.ศ. 2499)[147][148]
- 11 ธันวาคม -
- คิม กี-ด็อก อดีตผู้กำกับภาพยนตร์ชาวเกาหลีใต้ (เกิด 20 ธันวาคม พ.ศ. 2503)[149][150]
- นายแพทย์มงคล ณ สงขลา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (เกิด 16 มกราคม พ.ศ. 2484)[151]
- 12 ธันวาคม – แจ็ก สไตน์เบอร์เกอร์ นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน และผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี พ.ศ. 2531 (เกิด 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2464)[152][153]
- 14 ธันวาคม -
- ไชยา สะสมทรัพย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ (เกิด 18 กันยายน พ.ศ. 2495)[154]
- เฌราร์ อูลีเย อดีตนักฟุตบอล และผู้จัดการทีมชาวฝรั่งเศส (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2490)[155][156]
- 19 ธันวาคม – บรัม ฟัน แดร์ ฟลุคต์ นักแสดงชาวดัตช์ (เกิด 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2477)[157][158]
- 22 ธันวาคม –
- กรีมา บาโลจ นักเคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชนและผู้ลี้ภัยชาวบาโลจ (เกิด 8 มีนาคม พ.ศ. 2526)
- สมเด็จพระญาณวชิโรดม (วิริยังค์ สิรินฺธโร) สมเด็จพระราชาคณะ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย และอดีตเจ้าอาวาสวัดธรรมมงคลเถาบุญญนนทวิหาร (เกิด 7 มกราคม พ.ศ. 2463)[159]
- 26 ธันวาคม – โบรดี ลี นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน (เกิด 16 ธันวาคม พ.ศ. 2522)[160][161]
- 28 ธันวาคม - นครินทร์ ชาทอง ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (การแสดงพื้นบ้าน-หนังตะลุง) (เกิด 15 กันยายน พ.ศ. 2488)[162]
- 29 ธันวาคม – ปิแอร์ การ์แดง นักออกแบบชาวฝรั่งเศส-อิตาลี (เกิด 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2465)[163][164]
- 31 ธันวาคม - ทอมมี โดเชอร์ตี นักฟุตบอล และโค้ชชาวสกอตแลนด์ (เกิด 24 เมษายน พ.ศ. 2471)[165][166]
รายการอ้างอิง[แก้]
- ↑ "David Stern, former NBA commissioner, dead at 77". CNN (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-01-01. สืบค้นเมื่อ 2020-01-01.
- ↑ "David Stern: Former NBA commissioner dies aged 77". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-01-01. สืบค้นเมื่อ 2020-01-01.
- ↑ Cohen, Zachary; Alkhshali, Hamdi; Khadder, Kareem; Dewan, Angela (3 January 2020). "US drone strike ordered by Trump Kills top ltanian commander in Baghdad". CNN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 January 2020. สืบค้นเมื่อ 3 January 2020.
- ↑ "สิ้นอดีตพระเอกชื่อดัง". เนชั่นทีวี. 2020-01-13. สืบค้นเมื่อ 2020-01-13.
- ↑ "สิ้น หลวงปู่แบน พระเถระสายพระป่า สหธรรมิกหลวงตามหาบัว ละสังขารอายุ 91 ปี". ไทยรัฐออนไลน์. 2020-01-17. สืบค้นเมื่อ 2020-01-17.
- ↑ "'หลวงปู่แบน' ละสังขาร ลูกศิษย์อาลัย สิ้นเสาหลักพระกรรมฐาน สายหลวงปู่มั่น". ไทยโพสต์. 2020-01-16. สืบค้นเมื่อ 2020-01-16.
- ↑ "'ชัย ชิดชอบ' ถึงแก่อนิจกรรม". bangkokbiznews.com. 2020-01-24. สืบค้นเมื่อ 2020-01-24.
- ↑ "แห่อาลัยดาราหนุ่ม "กอล์ฟ ธนภัทร" เสียชีวิต หลังต่อสู้มะเร็งใต้ผิวหนัง". pptvhd36. 2020-01-31. สืบค้นเมื่อ 2020-01-31.
- ↑ "สิ้น 'อุทัย แก้วละเอียด' ศิลปินแห่งชาติ ระนาดเอกชั้นครู วงการดนตรีไทยสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่". มติชนออนไลน์. 2020-02-03. สืบค้นเมื่อ 2020-02-03.
- ↑ "เปิดประวัติ 'พลตำรวจโทตระกูล ทาอาษา' ผู้กล้าพลีชีพปฏิบัติการโคราช". เดลินิวส์. 2020-02-09. สืบค้นเมื่อ 2020-02-08.
- ↑ "เปิดประวัติ พลตำรวจโทตระกูล ทาอาษา ตำรวจผู้กล้า". คมชัดลึก. 2020-02-09. สืบค้นเมื่อ 2020-02-09.
- ↑ "Lego minifigure creator and 'unsung hero' of the toy industry Jens Nygaard Kundsen dies". CNN (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-02-19. สืบค้นเมื่อ 2020-02-19.
- ↑ "Creator of iconic Lego figure Jens Nygaard Knudsen dead at 78". South China Morning Post. 2020-02-19. สืบค้นเมื่อ 2020-02-19.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ Former Real Madrid president Lorenzo Sanz dies age 76 after coronavirus infection
- ↑ Frishberg, Hannah (30 March 2020). "Ken Shimura, 'Japan's Robin Williams,' dies from coronavirus at 70". New York Post (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 30 March 2020.
- ↑ Kennedy, Mark (April 4, 2020). "'Lean On Me,' 'Lovely Day' singer Bill Withers dies at 81". AP News. สืบค้นเมื่อ April 4, 2020.
- ↑ Ex-Somali PM dies of Coronavirus in London
- ↑ "'ประจวบ ไชยสาส์น' อดีตรมต.ดัง เสียชีวิตแล้ว". bangkokbiznews.com. 2020-04-01. สืบค้นเมื่อ 2020-04-01.
- ↑ "สิ้น 'ประจวบ ไชยสาส์น' อดีตรมต.เจ้าของฉายา'อีดี้อีสาน'". เดลินิวส์. 2020-04-01. สืบค้นเมื่อ 2020-04-01.
- ↑ ""ไก่ ดวงชีวัน" อดีตดาราฉายา "สะโพกดินระเบิด" เสียชีวิตอย่างสงบ". pptvhd36. 2020-01-03. สืบค้นเมื่อ 2020-01-03.
- ↑ "ดวงชีวัน โกมลเสน อดีตดาราดังเสียชีวิตในโรงแรมที่เขาใหญ่". springnews. 2020-01-03. สืบค้นเมื่อ 2020-01-03.
- ↑ "วงการบันเทิงเศร้า ผู้กำกับหนังดัง อั๋น ธนกร พงษ์สุวรรณ เสียชีวิตแล้ว". มติชนออนไลน์. 2020-01-04. สืบค้นเมื่อ 2020-01-04.
- ↑ "พ่อ "กัญจน์ KPN" โพสต์เศร้า บอกเวลาลูกน้อยเกินไป". pptvhd36. 2020-01-05. สืบค้นเมื่อ 2020-01-05.
- ↑ "วงการลูกทุ่งเศร้า 'เอ พีราวุธ 'นักจัดรายการวิทยุคนดัง เสียชีวิต". ไทยโพสต์. 2020-01-07. สืบค้นเมื่อ 2020-01-07.
- ↑ "ผู้กำกับญี่ปุ่น "โนบุฮิโกะ โอบายาชิ" เสียชีวิตแล้ว". today.line.me. 2020-01-10. สืบค้นเมื่อ 2020-01-10.
- ↑ "ช็อก! "ตั๋ว-กีรติ ชลสิทธิ์" ดีไซเนอร์ดังและเจ้าของห้องเสื้อดวงในบิส เสียชีวิตในบ้านพัก". สยามรัฐ. 2020-01-10. สืบค้นเมื่อ 2020-01-10.
- ↑ "ปิดตำนานผู้ก่อตั้ง DNA สิ้นลม "โรคหลอดเลือดหัวใจ" คร่าชีวิต". เดลินิวส์. 2020-04-10. สืบค้นเมื่อ 2020-04-10.
- ↑ "สุดอาลัย วงการบันเทิงเศร้าอีก นักแสดง-ผู้กำกับมากฝีมือ เสียชีวิตแล้ว". ข่าวสด. 2020-04-11. สืบค้นเมื่อ 2020-04-11.
- ↑ "อีกข่าวเศร้า 'น้ำมนต์' นักแสดง ผู้กำกับ และแอ็ดติ้ง โคช ฝีมือดี เสียชีวิตแล้ว". มติชนออนไลน์. 2020-04-11. สืบค้นเมื่อ 2020-04-11.
- ↑ Peter Bonetti: Former Chelsea and England goalkeeper dies aged 78
- ↑ "สิ้นเจ้าสัว อนันต์ กาญจนพาสน์ เจ้าของอาณาจักรเมืองทองธานี". ไทยรัฐออนไลน์. 2020-01-13. สืบค้นเมื่อ 2020-01-13.
- ↑ ""อนันต์ กาญจนพาสน์" เจ้าพ่ออสังหาร "บางกอกแลนด์" เสียชีวิตด้วยโรคชรา". ไทยโพสต์. 2020-01-13. สืบค้นเมื่อ 2020-01-13.
- ↑ "ปิดตำนาน 'พนมเทียน' ฉัตรชัย วิเศษสุวรณภูมิ ศิลปินแห่งชาติ เสียชีวิตในวัย 89 ปี". bangkokbiznews.com. 2020-01-21. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.
- ↑ "'พนมเทียน' ศิลปินแห่งชาติ ปี 40 เสียชีวิตอย่างสงบ ด้วยวัย 89 ปี". เดลินิวส์. 2020-01-21. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.
- ↑ "สุดยื้อนานนับ 10 ปี "กันย์ มุกดาสนิท" จากไปอย่างสงบ". เนชั่นทีวี. 2020-01-21. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.
- ↑ "เศร้า! "กันย์ มุกดาสนิท" นักแสดงซีรีส์ "Gay Ok Bangkok" เสียชีวิตแล้ว". TNN Online. 2020-01-21. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.
- ↑ "เศร้า! โควิดคร่า "คูมิโกะ โอกาเอะ" ดาราญี่ปุ่น ในวัย 63 ปี". TNN Online. 2020-04-23. สืบค้นเมื่อ 2020-04-23.
- ↑ "อาลัย "ชวลิต เสริมปรุงสุข" ศิลปินแห่งชาติ เสียชีวิตจากโควิด-19". ไทยรัฐออนไลน์. 2020-01-27. สืบค้นเมื่อ 2020-01-27.
- ↑ ""ชวลิต เสริมปรุงสุข" ศิลปินแห่งชาติ ป่วยโควิดเสียชีวิตที่เนเธอร์แลนด์ ในวัย 80 ปี". mgronline. 2020-01-27. สืบค้นเมื่อ 2020-01-27.
- ↑ "Slumdog Millionaire actor Irrfan Khan dies," BBC, accessed April 29, 2020.
- ↑ "ปิดตำนานสตรีเหล็กดุสิตธานี ท่านหญิงชนัตถ์ ปิยะอุย เสียชีวิต ด้วยวัย 99 ปี". คมชัดลึกออนไลน์. 2020-05-03. สืบค้นเมื่อ 2020-05-03.
- ↑ "ท่านหญิงชนัตถ์ ปิยะอุย ผู้ก่อตั้งโรงแรมดุสิตธานี เสียชีวิตด้วยวัย 99 ปี". sanook. 2020-05-03. สืบค้นเมื่อ 2020-05-03.
- ↑ "'พลเอกเทียนชัย สิริสัมพันธ์' ถึงแก่อนิจกรรม ปิดตำนาน 'เจ้าพ่อป่าหวาย'". เดลินิวส์. 2020-05-03. สืบค้นเมื่อ 2020-05-03.
- ↑ "'ดา ตอปิโด' เสียชีวิตแล้ว หลังเข้ารักษาโรคมะเร็งเต้านมที่ โรงพยาบาลศิริราช ตั้งศพวัดเทวสุนทร". ไทยโพสต์. 2020-03-07. สืบค้นเมื่อ 2020-03-07.
- ↑ "'อิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์' ส.ส.ลำปาง พรรคเพื่อไทย เสียชีวิตด้วยวัย 56 ปี". ไทยโพสต์. 2020-03-07. สืบค้นเมื่อ 2020-03-07.
- ↑ "สิ้น พลเอกสีสะหวาด แก้วบุนพัน ตำนานแม่ทัพศึกร่มเกล้า". คมชัดลึกออนไลน์. 2020-03-12. สืบค้นเมื่อ 2020-03-12.
- ↑ ""ภิรมย์" เสียชีวิต หลังติดเชื้อในกระแสเลือด". เดลินิวส์. 2020-04-15. สืบค้นเมื่อ 2020-04-15.
- ↑ "สิ้น 'ภิรมย์ พลวิเศษ' นักการเมืองดังโคราช-มือดีลตั้งกลุ่ม'สามมิตร". สำนักข่าวอิศรา. 2020-04-15. สืบค้นเมื่อ 2020-04-15.
- ↑ ""เสี่ยปึ้ง-สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล" เสียชีวิตในวัย 67 หลังป่วยมะเร็งตับ". ไทยรัฐออนไลน์. 2020-07-20. สืบค้นเมื่อ 2020-07-20.
- ↑ "เปิดประวัติเจ้าอาวาส "วัดป่าบ้านตาด" หลวงพ่อสุดใจ เปี่ยมด้วยเมตตามอบเงิน 2 ล้านช่วยโควิด ก่อนมรณภาพ". คมชัดลึก. 2020-05-22. สืบค้นเมื่อ 2020-05-22.
- ↑ "สิ้นเกจิดัง! ไฟไหม้กุฏิวัดป่าบ้านตา 'หลวงพ่อสุดใจ' มรณภาพ". ไทยโพสต์. 2020-05-22. สืบค้นเมื่อ 2020-05-22.
- ↑ "สุดเศร้า "พุฒ ล้อเหล็ก" อดีตยอดมวยไทย เสียชีวิตในวัย 68 ปี". Thairath. 2020-06-01. สืบค้นเมื่อ 2020-06-01.
- ↑ kato, Hirohida (2020-07-22). "Tribute to Dr. Tomisaku Kawasaki - Discoverer of Kawasaki Disease and a Great Pediatrician -". Circulation Journal. 84 (8): 12-09-12111. doi:10.1253/circj.cj-66-0180. ISSN 1346-9843. PMID 32611935.
- ↑ "สิ้น ศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ สิริอายุ 67 ปี". Thairath. 2020-06-07. สืบค้นเมื่อ 2020-06-07.
- ↑ "สุดเศร้า! 'ตั้ว ศรัณยู' เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งตับระยะสุดท้าย". bangkokbiznews.com. 2020-06-10. สืบค้นเมื่อ 2020-06-10.
- ↑ "วงการบันเทิงสูญเสีย "ตั้ว ศรัณยู" ป่วยมะเร็งตับ". ไทยพีบีเอส. 2020-06-10. สืบค้นเมื่อ 2020-06-10.
- ↑ "'ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ' เสียชีวิตแล้ว หลังป่วยมะเร็ง". bangkokbiznews.com. 2020-06-11. สืบค้นเมื่อ 2020-06-11.
- ↑ "อาลัย 'ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ' เปิดภาพสมัยหนุ่ม 'พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ' เผยกำหนดสวดพระอภิธรรม". pptvhd36. 2020-06-11. สืบค้นเมื่อ 2020-06-11.
- ↑ "ช็อก! "แชมป์ ศุภวัฒน์" เจ้าของเพลงดัง "นอนน้อย" หัวใจวายเสียชีวิต เผยเพิ่งขอแฟนแต่งงาน". pptvhd36. 2020-06-21. สืบค้นเมื่อ 2020-06-21.
- ↑ "บอลไทยสุดเศร้า! 'อภินันท์' อดีตแข้งไทยลีกเสียชีวิตแล้ว". เดลินิวส์. 2020-06-21. สืบค้นเมื่อ 2020-06-21.
- ↑ "'อภินันท์ แก้วปีลา' อดีตแข้งไทยลีกเสียชีวิตแล้ว". มติชนออนไลน์. 2020-06-21. สืบค้นเมื่อ 2020-06-21.
- ↑ "เศร้า! 'ชนินทร ประเสริฐประศาสน์' ผู้กำกับละครดัง 'แรงเงา' ยิงตัวดับวีลแชร์". bangkokbiznews.com. 2020-06-21. สืบค้นเมื่อ 2020-06-21.
- ↑ Bagan, Carmel (June 22, 2020). "Joel Schumachaer, Director of Batman Films and 'Lost Boys,' Dies at80". Variety. สืบค้นเมื่อ June 23, 2020.
- ↑ "Hugh Downs, anchor of 20/20 and Today, daed at 99". CNN. 2020-07-01. สืบค้นเมื่อ 2020-07-01.
- ↑ "lda Haendel, violinist who played at the Proms before the Second World War-obituary". telegraph.co.uk (ภาษาอังกฤษ). 2020-07-01. สืบค้นเมื่อ 2020-07-01.
- ↑ "lda Haendel, Violin Virtuoso, With 'Fire and lce' in Her Playing, Dies". nytimes (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-07-01. สืบค้นเมื่อ 2020-07-01.
- ↑ "สิ้น "อาคม เอ่งฉ้วน" อดีตรัฐมนตรีคนดัง พรรคประชาธิปัตย์ ในวัย 69 ปี". pptvhd36. 2020-07-01. สืบค้นเมื่อ 2020-07-01.
- ↑ "สิ้น "อาคม เอ่งฉ้วน' ส.ส.ดังกระบี่หลายสมัย เหตุเลือดออกในกระเพาะอาหาร". mgronline.com. 2020-07-01. สืบค้นเมื่อ 2020-07-01.
- ↑ "ด่วน! "นาธาน โอมาน" อดีตนักร้องชื่อดัง เสียชีวิตแล้ว". pptvhd36. 2020-07-04. สืบค้นเมื่อ 2020-07-04.
- ↑ "วุดช็อก! "นาธาน โอมาน" เสียชีวิตแล้ว ในวัย 45 ปี". สยามรัฐ. 2020-07-04. สืบค้นเมื่อ 2020-07-04.
- ↑ kim, Jun-yeop (July 9, 2020). [ข่าวด่วน] "ปล่อยคำพูดเหมือนเจตจำนงของ Seoul Mayor Park Won-soon และจากไป" ลูกสาวแจ้งความกับตำรวจ. Kookmin llbo (ภาษาเกาหลี). kookmin llbo Company. สืบค้นเมื่อ July 9, 2020.
- ↑ Park, Si-soo (10 July 2020). "Mayor Killed himself: police". The Korea Times. สืบค้นเมื่อ 13 July 2020.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "สิ้นตำนานเสือข้ามห้วย 'พลเอกประมณฑ์ ผลาสินธุ์' อดีตผู้บัญชาการทหารบกคนที่ 29". มติชนออนไลน์. 2020-07-11. สืบค้นเมื่อ 2020-07-11.
- ↑ "ปิดตำนาน "เสือข้ามห้วย" ! สิ้น "พลเอกประมณฑ์ ผลาสินธุ์" อดีตผู้บัญชาการทหารบก เสียชีวิต ในวัย 84 ปี". สยามรัฐ. 2020-07-11. สืบค้นเมื่อ 2020-07-11.
- ↑ ""มิอูระ ฮารูมะ" นักแสดงชื่อดังชาวญี่ปุ่น เสียชีวิตในวัย 30 ปี". ไทยรัฐออนไลน์. 2020-07-18. สืบค้นเมื่อ 2020-07-18.
- ↑ "อาลัย! แอ๊นท์ ธรัญญา สัตตบุศย์ นางแบบ นักแสดงดัง เสียชีวิตแล้ว". pptvhd36. 2020-07-18. สืบค้นเมื่อ 2020-07-18.
- ↑ "ธรัญญา สัตตบุศย์ อดีตนางแบบดัง-นักพากย์เสียงโฆษณา เสียชีวิตด้วยวัย 48 ปี". sanook. 2020-07-18. สืบค้นเมื่อ 2020-07-18.
- ↑ "สิ้น!! 'พิมพ์ปฏิภาณ พึ่งธรรมจิตต์' ศิลปินแห่งชาติ วัย 83 ปี". เนชั่นทีวี. 2020-07-19. สืบค้นเมื่อ 2020-07-19.
- ↑ "อาลัยรัก 'พิมพ์ปฏิภาณ พึ่งธรรมจิตต์' ศิลปินแห่งชาติ". เดลินิวส์. 2020-07-19. สืบค้นเมื่อ 2020-07-19.
- ↑ "Kansai Yamamoto, fashion designer, dies age 76". CNN. 2020-07-21. สืบค้นเมื่อ 2020-07-21.
- ↑ "Regis Philbin, television personality, has died at 88". CNN. 2020-07-25. สืบค้นเมื่อ 2020-07-25.
- ↑ "Regis Philbin, iconic US TV host, dies aged 88". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-07-25. สืบค้นเมื่อ 2020-07-25.
- ↑ "Lee Teng-hui: Taiwan's 'father of democracy' dies". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-07-30. สืบค้นเมื่อ 2020-07-30.
- ↑ "Lee Teng-hui, 97 Who Led Taiwan's Turn to Democracy, Dies". nytimes. 2020-07-30. สืบค้นเมื่อ 2020-07-30.
- ↑ "Cųu Tõng bĺ thu Le Knã Phieu qua đol". BBC News. 2020-08-07. สืบค้นเมื่อ 2020-08-07.
- ↑ "คอหนังฮ่องกง เศร้า!! "เฉิน มู่เซิ่ง" ผู้กำกับ "ผู้หญิงข้า ใครอย่าแตะ" จากโลกนี้แล้ว". เนชั่นทีวี. 2020-08-23. สืบค้นเมื่อ 2020-08-23.
- ↑ "ด่วน "อ้อย กาญจนา จินดาวัฒน์" นักแสดงชื่อดังเสียชีวิตด้วนโรคหัวใจ". อมรินทร์ทีวี. 2020-08-27. สืบค้นเมื่อ 2020-08-27.
- ↑ "ช็อก! 'อ้อย กาญจนา' อดีตนางเอกชื่อดังเสียชีวิตแล้ว". เดลินิวส์. 2020-08-27. สืบค้นเมื่อ 2020-08-27.
- ↑ "อาลัย แชดวิก โบสแมน นักแสดง "แบล็คแพนเธอร์" มะเร็งคร่าชีวิต ในวัย 43 ปี". thairath. 2020-08-28. สืบค้นเมื่อ 2020-08-28.
- ↑ "อดีตปธน.อินเดีย "ปรณพ มุขรจี" อสัญกรรมจากโควิด-19". เดลินิวส์. 2020-08-31. สืบค้นเมื่อ 2020-08-31.
- ↑ "เติมศักดิ์ จารุปราณ พิธีกร-ผู้ประกาศข่าว เสียชีวิต". มติชนออนไลน์. 2020-09-05. สืบค้นเมื่อ 2020-09-05.
- ↑ "เปิดประวัติ "แม่ทุม ปทุมวดี" ดาวผู้ลาลับ คู่ชีวิต "รอง เค้ามูลคดี"". pptvhd36. 2020-09-07. สืบค้นเมื่อ 2020-09-07.
- ↑ "Dame Diana Rigg: Avengers, Bond and Game of Thrones actress dies at 82". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-09-10. สืบค้นเมื่อ 2020-09-10.
- ↑ "Diana Rigg Dead: 'Game of Thrones,' 'Avengers' Star Was 82". hollywoodreporter.com. September 10, 2020. สืบค้นเมื่อ September 10, 2020.
- ↑ "'ณรงค์ วงศ์วรรณ' ถึงแก่อนิจกรรมวัย 94 ปี เจ้าของตำนาน 'ว่าที่นายกรัฐมนตรี'". bangkokbiznews.com. 2020-09-10. สืบค้นเมื่อ 2020-09-10.
- ↑ ""ณรงค์ วงศ์วรรณ" อดีตรองนายกรัฐมนตรี ถึงแก่อนิจกรรม วัย 94 ปี". posttoday. 2020-09-10. สืบค้นเมื่อ 2020-09-10.
- ↑ "ด่วน! "โรเบิร์ต สายควัน" เสียชีวิตแล้ว วงการตลกเศร้า". pptvhd36. 2020-09-19. สืบค้นเมื่อ 2020-09-19.
- ↑ "เศร้า! มะเร็งคร่าผู้ประกาศข่าว "โอเปิ้ล ประภาพร เชาวนาศิริ" วัย 41 ปี". เนชั่นทีวี. 2020-09-20. สืบค้นเมื่อ 2020-09-20.
- ↑ "ช็อกวงการกีฬา! 'โอเปิ้ล ประภาพร' ผู้ประกาศข่าวเสียชีวิต". เดลินิวส์. 2020-09-20. สืบค้นเมื่อ 2020-09-20.
- ↑ "สิ้น "สุคนธ์ พรพิรุณ" ศิลปินแห่งชาติ สิริอายุ 85 ปี". คมชัดลึกออนไลน์. 2020-09-23. สืบค้นเมื่อ 2020-09-23.
- ↑ "อาลัยครูเพลง 'สุคนธ์ พรพิรุณ' ศิลปินแห่งชาติ ปี 61". มติชนออนไลน์. 2020-09-23. สืบค้นเมื่อ 2020-09-23.
- ↑ "อาลัย คุณเข้าหลวง "ท่านหญิงอภิรดี ยิ่งเจริญ' พระพี่เลี้ยง สิ้นพระชนม์อย่างสงบ ในวัย 94 ปี". pptvhd36. 2020-09-30. สืบค้นเมื่อ 2020-09-30.
- ↑ "Designer Kenzo Takada, founder of Kenzo, dies of Covid-19 aged 81". CNN. October 4, 2020. สืบค้นเมื่อ October 4, 2020.
- ↑ "Fashion Designer Kenzo Takada Dies of COVID-19 at 81". variety (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-10-04. สืบค้นเมื่อ 2020-10-04.
- ↑ "Eddie Van Halen dies at 65 after cancer battle". CNN (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-10-06. สืบค้นเมื่อ 2020-10-06.
- ↑ "Eddie Van Halen: Tributes paid to rock guitartsi following death at 65". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-10-06. สืบค้นเมื่อ 2020-10-06.
- ↑ "Mario Molina, Mexico chemistry Nobel winner, dies at 77". Apnews. October 7, 2020. สืบค้นเมื่อ October 7, 2020.
- ↑ "Mario Molina, 77, Dies; Sounded an Alarm on the Ozone Layer". nytimes. October 7, 2020. สืบค้นเมื่อ October 7, 2020.
- ↑ "พระสาสนโสภณ เจ้าอาวาสวัดสุทธจินดาวรวิหาร มรณภาพแล้ว รวมสิริอายุ 96 ปี". mgronline. 2020-10-09. สืบค้นเมื่อ 2020-10-09.
- ↑ "Former minister Abdul Aziz Shamsuddin dies at 82". malaymail (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-10-16. สืบค้นเมื่อ 2020-10-16.
- ↑ "Former minister abdul Aziz Shamsuddin dies at 82". net.com.my (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-10-16. สืบค้นเมื่อ 2020-10-16.
- ↑ "สิ้น 'ปรีดา พัฒนถาบุตร' ครูการเมือง 'ทักษิณ'". ไทยโพสต์. 2020-10-23. สืบค้นเมื่อ 2020-10-23.
- ↑ "อาลัย "ปรีดา พัฒนถาบุต" อดีต รมต.หลายสมัย-ครูการเมือง "ทักษิณ"". มติชนออนไลน์. 2020-10-23. สืบค้นเมื่อ 2020-10-23.
- ↑ "Prince Azim of Brunei, Sultan of Brunei's son, dies aged 38". CNN. October 24, 2020. สืบค้นเมื่อ October 24, 2020.
- ↑ "Prince Asim of Brunei, Hollywood Producer, dies at 38". NBC news. 2020-10-24. สืบค้นเมื่อ October 24, 2020.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Funeral held for Samsung chairman Lee Kun-hee, heir faces legal battles". reuters (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-10-25. สืบค้นเมื่อ 2020-10-25.
- ↑ "Lee Kun-Hee, force behind Samsung's rise, dies at 78". Apnews. 2020-10-25. สืบค้นเมื่อ 2020-10-25.
- ↑ "Sean Connery: James Bond actor dies aged 90". BBC News. 31 October 2020. สืบค้นเมื่อ 31 October 2020.
- ↑ "Sean Connery, famed for playing James Bond, dies age 90". CNN. October 31, 2020. สืบค้นเมื่อ October 31, 2020.
- ↑ "อาลัย "ศรีบาน ซุปเปอร์โจ๊ก" ตลกชื่อดังเสียชีวิตแล้ว". pptvhd36. 2020-11-02. สืบค้นเมื่อ 2020-11-02.
- ↑ "Comedian Park Ji Sun and her mother found dead at home, police suspecting suicide". Allkpop. 2020-11-02. สืบค้นเมื่อ 2020-11-02.
- ↑ "South Korean comedian Park Ji-Sun found dead with her mother". rapller (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-11-02. สืบค้นเมื่อ 2020-11-02.
- ↑ "มณฑินี ตั้งพงษ์ อดีตนักเทนนิสหญิงทีมชาติไทย เสียชีวิต ในวัย 35 ปี". tnews. 2020-11-04. สืบค้นเมื่อ 2020-11-04.
- ↑ "Alex Trebeck, long-running Jeopardy host dead at 80". CNN. November 8, 2020. สืบค้นเมื่อ November 8, 2020.
- ↑ "Alex Trebeck: Jeopardy! game show host dies with cancer aged 80". BBC News. November 8, 2020. สืบค้นเมื่อ November 8, 2020.
- ↑ "อาลัย "ดุสิต รังคสิริ" อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่". thansettakij. 2020-11-08. สืบค้นเมื่อ 2020-11-08.
- ↑ "Bahrain's long-serving PM Khalifa bin Salman Al Khalifa dies". aljazeera.com. November 11, 2020. สืบค้นเมื่อ November 11, 2020.
- ↑ "Bahrain's longest serving prime minister, Prince Khalifa AI khalifa, dies at 84". CNN (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-11-11. สืบค้นเมื่อ 2020-11-11.
- ↑ "Somalia mourns former Prime Minister Omar Ghalib". The East African. November 19, 2020. สืบค้นเมื่อ November 21, 2020.
- ↑ "Cumar Carte Qaalib oo Maanta lagu aasay Hargeysa". voasomali. November 18, 2020. สืบค้นเมื่อ November 18, 2020.
- ↑ "'จูน จิราภรณ์' รองมิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2550 เสียชีวิตแล้ว ด้วยโรคมะเร็ง". bakgkokbiznews.com. 2020-11-25. สืบค้นเมื่อ 2020-11-25.
- ↑ Polden, Jake (November 25, 2020). "Algentine soccer great Diego Maradona dies at 60". Apnews. สืบค้นเมื่อ November 25, 2020.
- ↑ "Diego Maradona: Argentina legend dies aged 60". BBC Sport (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-11-25. สืบค้นเมื่อ 2020-11-25.
- ↑ "Dave Prowse: Darth Vader actor dies aged 85". BBC News. November 29, 2020. สืบค้นเมื่อ November 30, 2020.
- ↑ "David Prowse, Man Behind the Darth Vader Mask, Dies at 85". hollywoodreporter.com. November 29, 2020. สืบค้นเมื่อ November 29, 2020.
- ↑ "อาลัย! รองอธิบดีกรมควบคุมโรค 'นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ' ทีมสู้โควิดประเทศไทย". bangkokbiznews.com. 2020-11-29. สืบค้นเมื่อ 2020-11-29.
- ↑ "Yadana Nat-Mei, Myanmar princess and first lady, dies at 88". Coconuts (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-12-01. สืบค้นเมื่อ 2020-12-01.
- ↑ "June Rose Bellamy, Adventurous Burmese Princess, Dies at 88". The New York times. December 1, 2020. สืบค้นเมื่อ December 1, 2020.
- ↑ Willsher, Kim (December 3, 2020). "Valéry Giscard d'Estaing dies from Covid-19 complications". The Guardian. สืบค้นเมื่อ December 3, 2020.
- ↑ "Giscard d' Estaing: France mourns ex-president, dead at 94". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-12-02. สืบค้นเมื่อ 2020-12-02.
- ↑ "Wrestling trailblazer Pat Patterson has died at 79". CNN. December 2, 2020. สืบค้นเมื่อ December 3, 2020.
- ↑ "Pat Patterson, first openly gay professional wrestler, dies aged 79". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-12-02. สืบค้นเมื่อ 2020-12-02.
- ↑ "MDH owner Mahashay Dharampal Gulati passes away at 98". The Economic Times (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 3 December 2020. สืบค้นเมื่อ 3 December 2020.
- ↑ "MDH owner Mahashay Dharampal Gulati dies at 97: Lesser-known facts about the Spice king". indianexpress. December 3, 2020. สืบค้นเมื่อ December 3, 2020.
- ↑ Muntean, Pete; Silverman, Hollie (December 7, 2020). "Chuck Yeager, pilot who broke the sound barrier, dies at 97". CNN. สืบค้นเมื่อ December 7, 2020.
- ↑ "Chuck Yeager: First Pilot to Fly supersonic dies aged 97". BBC News. December 7, 2020. สืบค้นเมื่อ December 7, 2020.
- ↑ Kemp, Emma (December 10, 2020). "Paolo Rossi, ltalian soccer great and World Cup winner, has died at the age of 64". CNN. สืบค้นเมื่อ December 10, 2020.
- ↑ "Paolo Rossi, ltaly's 1982 World Cup hero, dies aged 64". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-12-09. สืบค้นเมื่อ 2020-12-09.
- ↑ "Controversial South Korean director Kim Ki-duk dies of Covid aged 59". The Guardian. December 11, 2020. สืบค้นเมื่อ December 12, 2020.
- ↑ "Kim Ki-duk, Award-Winning South Korean Filmmaker, Dies at 59". The New York times. December 11, 2020. สืบค้นเมื่อ December 11, 2020.
- ↑ "มะเร็งคร่าชีวิต 'นายแพทย์มงคล ณ สงขลา' อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ด้วยวัย 79 ปี". thebangkokinsight. 2020-12-11. สืบค้นเมื่อ 2020-12-11.
- ↑ "Jack Steinberger, Nobel Winner Physics, Dies at 99". nytimes. December 12, 2020. สืบค้นเมื่อ December 12, 2020.
- ↑ "Jack Steinberger Nobel-winning Physicist and UChicago alum, 1921-2020". news.uchicago. 12 December 2020. สืบค้นเมื่อ 12 December 2020.
- ↑ "ด่วน! 'ไชยา สะสมทรัพย์' อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์-สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม เสียชีวิตแล้ว". มติชนออนไลน์. 2020-12-14. สืบค้นเมื่อ 2020-12-14.
- ↑ "Gerard Houllier: Former Liverpool manager dies aged 73". BBC Sport. December 14, 2020. สืบค้นเมื่อ December 14, 2020.
- ↑ "Gerard Houllier, former Liverpool and France manager, dies aged 73". news.sky.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2020-12-14. สืบค้นเมื่อ 2020-12-14.
- ↑ "Acteur Bram van der Vlugt op 86-jarige leeftijd overleden aan corona". rtlnieuws.nl (ภาษาดัตช์). 2020-12-19. สืบค้นเมื่อ 2020-12-19.
- ↑ "Acteue Bran van der Vlugt (86) overleden ann corona". rtvutrecht.nl (ภาษาดัตช์). 2020-12-19. สืบค้นเมื่อ 2020-12-19.
- ↑ "เปิดประวัติ สมเด็จพระญาณวชิโรดม (หลวงพ่อวิริยังค์)". bangkokbiznews.com. 2020-12-22. สืบค้นเมื่อ 2020-12-22.
- ↑ Staszewski, Joseph (December 26, 2020). "Wrestler Jon Huber dies at 41 from non-Covid related lung issue his wife says". CNN. สืบค้นเมื่อ December 27, 2020.
- ↑ "Wrestler Brodie Lee - Fka WWE's Luke Harper - dies at 41". news.sky.com. 2020-12-26. สืบค้นเมื่อ 2020-12-26.
- ↑ "สิ้น "หนังนครรินทร์ ชาทอง" ศิลปินแห่งชาติหนังตะลุง". เดลินิวส์. 2020-12-28. สืบค้นเมื่อ 2020-12-28.
- ↑ "Pierre Cardin: French fashion giant dies aged 98". BBC News. December 29, 2020. สืบค้นเมื่อ December 30, 2020.
- ↑ "Pierre Cardin, French Fashion designer, dies aged 98". CNN. December 29, 2020. สืบค้นเมื่อ December 29, 2020.
- ↑ "Tommy Docherty: Former Man Utd and Scotland boss dies". BBC Sport (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-12-31. สืบค้นเมื่อ 2020-12-31.
- ↑ "Tommy Docherty, Former Manchester United and Scotland manager, dies aged 92". theguardian. December 31, 2020. สืบค้นเมื่อ December 31, 2020.