ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Thejeang (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
| ภาพ = [[ไฟล์:ramlogo.gif|Ramkhamhaeng]]
| ภาพ = [[ไฟล์:ramlogo.gif|Ramkhamhaeng]]
| วันที่ก่อตั้ง = 26 กุมภาพันธ์ 2514
| วันที่ก่อตั้ง = 26 กุมภาพันธ์ 2514
| คณบดี = รศ.นภาจรี นาควัชระ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์
| คณบดี = รศ.ทวีศักดิ์ ปิ่นทอง คณบดีคณะมนุษยศาสตร์
| สีประจำคณะ = [[สีแสด]]
| สีประจำคณะ = [[สีแสด]]
| สัญลักษณ์คณะ =
| สัญลักษณ์คณะ =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:07, 7 กรกฎาคม 2554

คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
Faculty of Humanities Ramkhamhaeng University
Ramkhamhaeng
สถาปนา26 กุมภาพันธ์ 2514
คณบดีรศ.ทวีศักดิ์ ปิ่นทอง คณบดีคณะมนุษยศาสตร์
ที่อยู่
อาคารมนุษยศาสตร์ ถนนรามคำแหง
แขวงบางกะปิ เขตหัวหมาก
กรุงเทพมหานคร
วารสารวารสารมนุษยศาสตร์
สีสีแสด
เว็บไซต์http://www.human.ru.ac.th/

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 โดยเป็นหนึ่งในสี่คณะที่กำเนิดขึ้นพร้อมกับการจัดตั้งมหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อแรกเริ่มมีทำหน้าที่สอนวิชาพื้นฐานด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้แก่คณะอื่น ๆ ต่อมาได้มีการพัฒนาเรื่อยๆมาจนเปิดหลักสูตร ทางด้านสายสังคมศาสตร์, วิทยาศาสตร์ และครอบคลุมไปยังด้านสาขามนุษยวิทยา, สังคมวิทยา รวมไปถึงภาษาต่างประเทศ ในปัจจุบันคณะมนุษยศาสตร์เปิดสอนหลักสูตรทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก

ประวัติ

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ได้รับการสถาปนาในปี พ.ศ. 2514 โดยจัดการเรียนการสอนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทั้งมุ่งเ้น้นในด้านภาษาไทยกับภาษาต่างประเทศ ปัจจุบัน คณะมนุษยศาสตร์ ได้เปิดสอนหลักสูตรภาษาต่างประเทศในระดับปริญญาตรี เป็นจำนวน 18 ภาษา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาสเปน ภาษารัสเซีย ภาษากรีก ภาษาโปรตุเกส ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี ภาษาเวียดนาม ภาษาลาว ภาษาเขมร ภาษาพม่า ภาษามลายู ภาษาอาหรับ ภาษาฮินดี ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤต

หลักสูตร

ระดับปริญญาตรี

  • สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
  • สาขาวิชาภาษาไทย
  • สาขาวิชาประวัติศาสตร์
  • สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส
  • สาขาวิชาภาษาเยอรมัน
  • สาขาวิชาปรัชญา
  • สาขาวิชาสื่อสารมวลชน
  • สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
  • สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา
  • สาขาวิชาภาษาสเปน
  • สาขาวิชาภาษารัสเซีย
  • สาขาวิชาภาษาจีน
  • สาขาวิชาวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว
  • สาขาวิชาประวัติศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยว

ปริญญาโท

  • สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
  • สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
  • สาขาวิชาไทยศึกษา
  • สาขาวิชาการแปลภาษาอังกฤษ – ไทย
  • สาขาวิชาการแปลภาษาฝรั่งเศส – ไทย
  • สาขาวิชาภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างประเทศ
  • สาขาวิชาประวัติศาสตร์
  • สาขาวิชาการสื่อสารพัฒนาการ
  • สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น