อักษรทิเบต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรทิเบต
มนต์ โอมมณีปัทเมฮุม
ชนิดอักษรสระประกอบ
ภาษาพูดภาษาทิเบต
ภาษาซองคา
ภาษาลาดัก
ภาษาสิกขิม
ภาษาบัลติ
ช่วงยุคประมาณ พ.ศ. 1193 (ค.ศ. 650)–ปัจจุบัน
ระบบแม่
ระบบลูกอักษรลิมบู
อักษรเลปชา
อักษรพักส์-ปา
ช่วงยูนิโคดU+0F00–U+0FFF
ISO 15924Tibt
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด
สระอักษรทิเบต

ในช่วงพ.ศ. 1100-1200 พระเจ้าซงแจ็นกัมโป กษัตริย์ในทิเบตใต้ ส่งเทินมี สัมโภฏะ เสนาบดีคนหนึ่ง ไปอินเดีย เพื่อหาข้อมูลทางพุทธศาสนา สมโภตาได้ประดิษฐ์อักษรทิเบตขึ้น โดยใช้อักษรเทวนาครีเป็นแบบ และเขียนไวยากรณ์ภาษาทิเบต โดยใช้ไวยากรณ์ภาษาสันสกฤตเป็นตัวอย่าง อักษรทิเบตนี้ ใช้เขียนคัมภีร์ทางพุทธศาสนา พจนานุกรมสันสกฤต-ทิเบตเล่มแรก มีเมื่อราวพ.ศ. 1400 การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์ไม้ ที่นำมาจากประเทศจีน ได้ใช้กันอย่างแพร่หลายในระยะแรก ปัจจุบันยังคงใช้ในวัดเล็ก ๆ

พยัญชนะอักษรทิเบต

วรรณคดีทิเบต มักเกี่ยวกับพุทธศาสนา รวมทั้งงานที่แปลจากภาษาสันสกฤต ภาษาจีน และงานดั้งเดิมของทิเบตเอง เช่นงานเกี่ยวกับศาสนาบอน ซึ่งนับถือกันอยู่ก่อน การเข้ามาของศาสนาพุทธ

ลักษณะ[แก้]

พยัญชนะมีพื้นเสียงเป็นอะ แยกแต่ละพยางค์ด้วยขีด กลุ่มพยัญชนะมีรูปพิเศษเกิดจากการเชื่อมต่อ

พยัญชนะ[แก้]

พยัญชนะทิเบตมี 30 ตัว ได้แก่

อักษรทิเบต Wylie ZYPY IPA ถอดเสียง
ka ga /ˉka/
kha ka /ˉkʰa/
ga ka /ˊkʰa/
nga nga /ˊŋa/
ca ja /ˉt͡ɕa/
cha qa /ˉt͡ɕʰa/
ja qa /ˊt͡ɕʰa/
nya nya /ˊɲa/
ta da /ˉta/
tha ta /ˉtʰa/
da ta /ˊtʰa/
na na /ˊna/
pa ba /ˉpa/
pha pa /ˉpʰa/
ba pa /ˊpʰa/
ma ma /ˊma/
tsa za /ˉt͡sa/
ཚྪ tsha ca /ˉt͡sʰa/
dza ca /ˊt͡sa/
wa wa /ˊwa/
zha xa /ˊɕa/
za sa /ˊsa/
'a a /ˊa/
ya ya /ˊja/
ra ra /ˊɹa/
la la /ˊla/
sha xa /ˉɕa/
sa sa /ˉsa/
ha ha /ˉha/
a a /ˉa/

ใช้เขียน[แก้]

ยูนิโคด[แก้]

ทิเบต
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+0F0x
U+0F1x
U+0F2x
U+0F3x ༿
U+0F4x  
U+0F5x
U+0F6x      
U+0F7x   ཿ
U+0F8x
U+0F9x  
U+0FAx
U+0FBx   ྿
U+0FCx  
U+0FDx          
U+0FEx                                
U+0FFx                                


อ้างอิง[แก้]