ชุดตัวอักษรฮีบรู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชุดตัวอักษรฮีบรู
ชนิดอักษรไร้สระที่ไม่บริสุทธิ์
ภาษาพูดฮีบรู, ยิดดิช, ลาดิโน, Mozarabic
ช่วงยุคศตวรรษที่ 2–1 ก่อนคริสตกาล จนถึงปัจจุบัน[1]
ระบบแม่
ระบบลูกยิดดิช
ระบบพี่น้อง
ช่วงยูนิโคด
ISO 15924Hebr
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด
พจนานุกรมภาษายิดดิช-ฮีบรู-ละติน-เยอรมัน (เรียงลำดับจากขวาไปซ้าย) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เขียนโดย Elijah Levita

ชุดตัวอักษรฮีบรู เป็นชุดของอักษรตระกูลเซมิติกไร้สระชนิดหนึ่ง ใช้ในการเขียนงานในภาษาฮีบรู ในยุคแรก ๆ ชุดตัวอักษรฮีบรูโบราณพัฒนามาจากชุดตัวอักษรฟินิเชีย ชุดตัวอักษรฮีบรูรุ่นใหม่พัฒนามาจากชุดตัวอักษรแอราเมอิกรุ่นแรก ๆ จารึกภาษาฮีบรูพบครั้งแรกเมื่อ 557 ปีก่อนพุทธศักราช อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ (ך/כ), เมม (ם/מ), นุน (ן/נ), ฟี (ף/פ) และซาดดี (ץ/צ) มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ (א), วาว (ו) และโยด/ยุด (י) ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์ และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาติ

ประวัติ[แก้]

อักษรฮีบรูโบราณ
อเล็ปโป โคเด็กซ์ (Aleppo Codex), ตัวบทมาโซเรต ราวศตวรรษที่ 10 ของคัมภีร์ฮีบรู แสดงข้อความในหนังสือโยชูวา 1:1

คำอธิบายทั่วไป[แก้]

พยัญชนะ[แก้]

Alef Gimel Dalet Zayin Het Tet Yod Kaf
א ב ג ד ה ו ז ח ט י כ
ך
Lamed Mem Samekh Ayin Tsadi Qof Resh Tav
ל מ נ ס ע פ צ ק ר ש ת
ם ן ף ץ
ชื่อเรียกตัวอักษรในภาษาฮีบรู ตัวอักษรฮีบรู ตัวอักษรในภาษาอื่น
ตัวพิมพ์ฮีบรูมาตรฐาน อักษรฮีบรูหวัด อักษรราชี อักษรฟินิเชียน อักษรกรีก อักษรลาติน อักษรซีริลลิก อักษรนาบาทาเอียน อักษรอาหรับ
[[Aleph|אָלֶף]] /'alef/ א א א Αα Aa Аа ا
[[Beth|בֵּית]] /bet/ ב ב ב Ββ Bb Бб
Вв
ب
[[Gimel (Hebräisch)|גִּמֶל]] /'gimel/ ג ג ג Γγ Cc
Gg
Гг ج
[[Daleth|דָּלֶת]] /'dalet/,
หรือ /'daled/
ד ד ד Δδ Dd Дд دذ
[[He (Hebräisch)|הֵא]] /he/,
หรือ /hej/
ה ה ה Εε Ee Ее
Єє
ه هـ
ـهـ ـه
[[Waw (Hebräisch)|וָו]] /vav/ ו ו ו Υυ
Ϝϝ
FfUuVv
WwYy
Ѵѵ
Уу
و
[[Zajin|זָיִן]] /'zain/ ז ז ז Ζζ Zz Зз ز
[[Chet|חֵית]] /χet/ ח ח ח Ηη Hh Ии ح
[[Tet (Buchstabe)|טֵית]] /tet/ ט ט ט Θθ Ѳѳ طظ
[[Jod (Hebräisch)|יוֹד]] /jod/,
หรือ /jud/
י י י Ιι Jj
Ii
Јј
Іі
ي
[[Kaph|כַּף]] /kaf/ כ ך כ ך כ ך Κκ Kk Кк ك
[[Lamed|לָמֶד]] /'lamed/ ל ל ל Λλ Ll Лл ل
[[Mem (Hebräisch)|מֵם]] /mem/ מ ם מ ם מ ם Μμ Mm Мм م
[[Nun (Hebräisch)|נוּן]] /nun/ נ ן נ ן נ ן Νν Nn Нн ن
[[Samech|סָמֶךְ]] /'sameχ/ ס ס ס Ξξ
Χχ
Xx Ѯѯ
Хх
?
[[Ajin|עַיִן]] /'ain/ ע ע ע Οο Oo Оо ع ء
غـ غ
[[Pe|פֵּא]] /pe/,
หรือ /pej/
פ ף פ ף פ ף Ππ Pp Пп ف
[[Tzade|צָדֵי]] /'tsade/,
หรือ /'tsadik/
צ ץ צ ץ צ ץ Ϻϻ - Цц
Чч
ص
ضـ ض
[[Koph|קוֹף]] /kof/,
หรือ /kuf/
ק ק ק Ϙϙ Qq Ҁҁ ق
[[Resch|רֵישׁ]] /reʃ/,
หรือ /rejʃ/
ר ר ר Ρρ Rr Рр ر
[[Sin (Hebräisch)|שִׁין]] /ʃin/ ש ש ש Σσς Ss Сс
Шш
سـ س
شـ ش
[[Taw|תָּו]] /tav/,
หรือ /taf/
ת ת ת Ττ Tt Тт ت
ث

ภาษาที่ใช้เขียน[แก้]

  • ภาษาฮีบรูที่อยู่ในกลุ่มคานาอันไนต์ของภาษากลุ่มเซมิติก เป็นภาษาของชาวยิวแต่ถูกแทนที่ด้วยภาษาแอราเมอิกเมื่อ 43 ปีก่อนพุทธศักราช ช่วง ปลายพุทธศตวรรษที่ 25 ขบวนการไซออนิสต์หรือกลุ่มชาตินิยมยิวได้กระตุ้นให้ฟื้นฟูภาษาฮีบรูเป็นภาษาพูด และเป็นภาษาราชการของอิสราเอลตั้งแต่ พ.ศ. 2491 ปัจจุบันมีชาวยิวราว 5 ล้านคนในอิสราเอลพูดภาษาฮีบรูใหม่
  • ภาษายิดดิช

อักษรฮีบรูแบบราซี (Rashi)[แก้]

อักษรราชีเป็นตัวพิมพ์ฮีบรูที่มีลักษณะกึ่งโค้งหวัด ตามธรรมเนียมแล้วใช้เขียนข้ออรรถาธิบาย (commentary) เนื้อหาในคัมภีร์ฮีบรู (ทานัค) และคัมภีร์ทัลมุดในหนังสือ ชื่อนี้ได้มาจาก รับบี ชโลโม ยิตซ์วากี หรือราซี นักวิชาการที่ยิ่งใหญ่ในยิวยุคกลางและเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับคัมภีร์ไบเบิล การตั้งชื่อนี้เป็นการให้เกียรติแก่ท่าน

Hebrew letters in square and Rashi type
א = ב = ג = ד = ה = ו = ז = ח = ט =
י = כ = ך = ל = מ = ם = נ = ן = ס =
ע = פ = ף = צ = ץ = ק = ר = ש = ת =

ยูนิโคด[แก้]

อักษรฮีบรูมีช่วงหลักอยู่ที่ U+0590-U+05FF และมีรูปแบบอักษรอีกจำนวนหนึ่งที่ U+FB1D-U+FB4F

ฮีบรู
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+059x   ֑ ֒ ֓ ֔ ֕ ֖ ֗ ֘ ֙ ֚ ֛ ֜ ֝ ֞ ֟
U+05Ax ֠ ֡ ֢ ֣ ֤ ֥ ֦ ֧ ֨ ֩ ֪ ֫ ֬ ֭ ֮ ֯
U+05Bx ְ ֱ ֲ ֳ ִ ֵ ֶ ַ ָ ֹ ֺ ֻ ּ ֽ ־ ֿ
U+05Cx ׀ ׁ ׂ ׃ ׄ ׅ ׆ ׇ                
U+05Dx א ב ג ד ה ו ז ח ט י ך כ ל ם מ ן
U+05Ex נ ס ע ף פ ץ צ ק ר ש ת          
U+05Fx װ ױ ײ ׳ ״                      


รูปแบบนำเสนอเชิงอักษร
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+FB0x                  
U+FB1x                
U+FB2x
U+FB3x      
U+FB4x    


อ้างอิง[แก้]

  1. "Hebrew alphabet." Encyclopedia Britannica. "Square Hebrew became established in the 2nd and 1st centuries bce and developed into the modern Hebrew alphabet over the next 1,500 years."