อักษรไทลื้อ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
อักษรไทลื้อใหม่ | |
---|---|
![]() | |
ชนิด | อักษรสระ-พยัญชนะ |
ช่วงยุค | ประมาณ พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950)–ปัจจุบัน |
ISO 15924 | Talu |
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด |
อักษรไทลื้อ เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาไทลื้อ มี 2 แบบ
อักษรไทลื้อเก่า[แก้]
มีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรล้านนา เนื่องจากได้รับอิทธิพลทางศาสนาพุทธจากอาณาจักรล้านนา
อักษรไทลื้อใหม่[แก้]
พัฒนามาจากอักษรไทลื้อเก่าเมื่อราว พ.ศ. 2493 เพื่อใช้แทนอักษรเดิมที่ใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 1743 อักษรแบ่งเป็นอักษรสูงกับอักษรต่ำ พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดจะมีรูปเฉพาะ รัฐบาลจีนได้รณรงค์ให้ชาวไทลื้อในจีนใช้อักษรนี้ แต่หลังจาก พ.ศ. 2523 ชาวไทลื้อได้รื้อฟื้นอักษรแบบเดิมขึ้นมาอีก ส่วนชาวไทลื้อในลาว พม่าและไทย ยังใช้อักษรแบบเดิมอยู่
ใช้เขียน[แก้]
- ภาษาไทลื้อ มีผู้พูดในยูนนาน 260,000 คน ในพม่า 265,000 คน ในไทย 70,000 คน ในลาว 20,000 คน และในเวียดนามราว 3,000 คน
ยูนิโคด[แก้]
ไทลื้อใหม่ Unicode.org chart (PDF) | ||||||||||||||||
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | A | B | C | D | E | F | |
U+198x | ᦀ | ᦁ | ᦂ | ᦃ | ᦄ | ᦅ | ᦆ | ᦇ | ᦈ | ᦉ | ᦊ | ᦋ | ᦌ | ᦍ | ᦎ | ᦏ |
U+199x | ᦐ | ᦑ | ᦒ | ᦓ | ᦔ | ᦕ | ᦖ | ᦗ | ᦘ | ᦙ | ᦚ | ᦛ | ᦜ | ᦝ | ᦞ | ᦟ |
U+19Ax | ᦠ | ᦡ | ᦢ | ᦣ | ᦤ | ᦥ | ᦦ | ᦧ | ᦨ | ᦩ | ᦪ | ᦫ | ||||
U+19Bx | ᦰ | ᦱ | ᦲ | ᦳ | ᦴ | ᦵ | ᦶ | ᦷ | ᦸ | ᦹ | ᦺ | ᦻ | ᦼ | ᦽ | ᦾ | ᦿ |
U+19Cx | ᧀ | ᧁ | ᧂ | ᧃ | ᧄ | ᧅ | ᧆ | ᧇ | ᧈ | ᧉ | ||||||
U+19Dx | ᧐ | ᧑ | ᧒ | ᧓ | ᧔ | ᧕ | ᧖ | ᧗ | ᧘ | ᧙ | ᧚ | ᧞ | ᧟ |