อักษรสิทธัม
อักษรสิทธัม | |
---|---|
![]() คำว่า "สิทฺธํ" (Siddhaṃ) ในอักษรสิทธัม | |
ชนิด | อักษรสระประกอบ |
ภาษาพูด | ภาษาสันสกฤต ภาษาบาลี |
ช่วงยุค | c. 550 - c. 1200 ในประเทศอินเดีย และถึงปัจจุบันในเอเชียตะวันออก |
ระบบแม่ |
อักษรแอราเมอิก
|
ระบบลูก | |
ระบบพี่น้อง | อักษรนาครี อักษรศารทา |
ช่วงยูนิโคด | U+11580-U+115FF Final Accepted Script Proposal |
ISO 15924 | Sidd |
อักษรสิทธัม (สันสกฤต: सिद्धं สิทธํ หมายถึง ทำให้สำเร็จหรือสมบูรณ์แล้ว, อังกฤษ: Siddham script, ทิเบต: སིད་དྷཾ།; จีน: 悉曇文字; พินอิน: Xītán wénzi; ญี่ปุ่น: 梵字, บนจิ) เป็นชื่ออักษรแบบหนึ่งของอินเดียตอนเหนือ ที่นิยมใช้เขียนภาษาสันสกฤต มีที่มาจากอักษรพราหมี โดยผ่านการพัฒนาจากอักษรคุปตะ ซึ่งก่อให้เกิดเป็นอักษรเทวนาครีในเวลาต่อมา และเกิดเป็นอักษรอื่นๆ จำนวนมากในเอเชีย เช่น อักษรทิเบต เป็นต้น อักษรสิทธัมเผยแพร่พร้อมคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจากอินเดียเข้าไปสู่จีนและญี่ปุ่นตามลำดับ ตั้งแต่ พ.ศ. 1349 โดยกูไก ผู้เรียนภาษาสันสกฤตและศาสนาพุทธไปจากจีน ในญี่ปุ่นเรียกอักษรนี้ว่า บนจิ เขียนจากซ้ายไปขวา แนวนอน ปัจจุบันอักษรสิทธัมยังคงใช้ในการประกอบพิธีกรรมของนิกายชินงน (มนตรยาน) ในประเทศญี่ปุ่น
สระ[แก้]
รูปสระลอย เทียบอักษรไทย เทียบอักษรโรมัน รูปสระจม ประสมกับ
พยัญชนะ กฺย ()
รูปสระลอย เทียบอักษรไทย เทียบอักษรโรมัน รูปสระจม ประสมกับ
พยัญชนะ กฺย ()
ฤ ṛ ฤ ṝ ฦ ḷ ฦๅ ḹ
พยัญชนะ[แก้]
เสียงพยัญชนะหยุด เสียงพยัญชนะเปิด เสียงพยัญชนะเสียดแทรก อโฆษะ สิถิล อโฆษะ ธนิต โฆษะ สิถิล โฆษะ ธนิต นาสิก กัณฐชะ ห h
Velar ก k
ข kh
ค g
ฆ gh
ง ṅ
ตาลุชะ จ c
ฉ ch
ช j
ฌ jh
ญ ñ
ย y
ศ ś
มุทธชะ ฏ ṭ
ฐ ṭh
ฑ ḍ
ฒ ḍh
ณ ṇ
ร r
ษ ṣ
ทันตชะ ต t
ถ th
ท d
ธ dh
น n
ล l
ส s
โอฏฐชะ ป p
ผ ph
พ b
ภ bh
ม m
ทันโตฏฐชะ ว v
ระเบียงภาพ[แก้]
อักขระ 42 ตัวในอวตังสกสูตร
คำว่า "นาค"
คาถา "โอม มณี ปัทเม หูม"
พระนาม "มหาจักรีสิรินธร" ของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- John Stevens. Sacred Calligraphy of the East. (Boston: Shambala, 1995)
- Taikō Yamasaki. Shingon: Japanese Esoteric Buddhism. (Fresno: Shingon Buddhist International Institute, 1988)
- อักษรสิทธัม