อักษรไว

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรไว
ชนิดชุดตัวหนังสือพยางค์
ภาษาพูดภาษาไว
ช่วงยุคคริสต์ทศวรรษ 1830–ปัจจุบัน
ช่วงยูนิโคดU+A500–U+A63F
ISO 15924Vaii
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด
ตารางชุดตัวหนังสือพยางค์ปัจจุบัน โดย Eh และ oh เป็นเสียงสระเปิด [ɛ, ɔ] อักษร "ɖ" เป็นตัวที่พิมพ์ผิดจาก ɗ อักษร jg ในแถวล่างคือ [ŋɡ] ภาพนี้ไม่แสดงชุดตัวหนังสือพยางค์ที่เริ่มต้นด้วย g, h, w, m, n, ny, ng [ŋ], กับสระ

ชุดตัวหนังสือพยางค์ไว เป็นระบบการเขียนแบบพยางค์สำหรับภาษาไวโดยโมโมลู ดูวาลู บูเกเลแห่งจอนดู ซึ่งปัจจุบันอยู่ในเทศมณฑลแกรนด์เคปเมานต์ ประเทศไลบีเรีย[1][2][3] สังคมไวและนักวิชาการส่วนใหญ่ถือให้โมโมลูเป็นผู้คิดค้นและผู้สนับสนุนอักษรไวตอนที่มีการบันทึกครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1830 อักษรไวถือเป็นหนึ่งในสองอักษรพื้นเมืองที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในแอฟริกาตะวันตกทั้งในด้านจำนวนผู้ใช้งานในปัจจุบันกับการใช้งานในวรรณกรรม ส่วนอีกอักษรหนึ่งคืออักษรอึนโก[4] [5]

พยางค์[แก้]

  e i a o u ɔ ɛ
‑̃
ŋ‑̃    
h‑
h‑̃    
w‑
w‑̃
p‑
b‑
ɓ‑
mɓ‑
kp‑
kp‑̃    
mgb‑
gb‑
gb‑̃  
f‑
v‑
t‑
θ‑
d‑
ð‑
l‑
r‑
ɗ‑
nɗ‑
s‑
ʃ‑
z‑
ʒ‑
tʃ‑
dʒ‑
ndʒ‑
j‑
k‑
k‑̃    
ŋg‑
ŋg‑̃  
g‑
g‑̃  
m‑
n‑
ɲ‑
  e i a o u ɔ ɛ

พยางค์เพิ่มเติม[แก้]

สัญลักษณ์ การใช้งาน[6]
พยางค์ท้าย ŋ
พยางค์ขยายเสียงสระ (เพื่อระบุสระเสียงยาว)

เครื่องหมายวรรคตอน[แก้]

อักษรไวมีเครื่องหมายวรรคตอนแบบพื้นฐานดังนี้:[6]

สัญลักษณ์ การใช้งาน
จุลภาค (,)
จุด (.)
꘎꘎ อัศเจรีย์ (!)
ปรัศนี (?)

เครื่องหมายวรรคตอนเพิ่มเติมนำมาจากแบบยุโรป

สัญลักษณ์ในอดีต[แก้]

ตัวหนังสือคำ[แก้]

ข้อความอักษรไวเก่าใช้ตัวหนังสือคำหลายแบบ เฉพาะ ꘓ และ ꘘ เท่านั้นที่ยังคงใช้งานอยู่[6]

ตัวหนังสือคำ ออกเสียง ชุดตัวหนังสือพยางค์ ความหมาย
feŋ ꔌꘋ สิ่งของ
keŋ ꔞꘋ เท้า
tiŋ ꔳꘋ เกาะ
nii; kpɛ kɔwu ꕇꔦꗬ ꗛꖙ}} วัว; ลังจิน
ɓaŋ ꕒꘋ สำเร็จ
faa ꕘꕌ ตาย, ฆ่า
taa ꕚꕌ ไป, เดินทาง
ɗaŋ ꕠꘋ ได้ยิน, เข้าใจ
ɗoŋ ꖅꘋ เข้า
kuŋ ꖴꘋ หัว, สามารถ
tɔŋ ꗋꘋ มีชื่อ
ɗɔɔ ꗑꖽ ตัวเล็ก
dʒɔŋ ꗘꘋ ทาส
ɗeŋ ꔔꘋ เด็ก, เล็ก
ꕪ* kai ꕪꔦ ผู้ชาย
ใน
  • <ka> ปัจจุบัน ในอดีตใช้รูป ꘑ สำหรับเสียง <ka>

ตัวเลข[แก้]

อักษรไวใช้ตัวเลขอาหรับ (0–9) ในคริสต์ทศวรรษ 1920 เคยมีการประดิษฐ์ตัวเลขไวแต่ไม่ได้นำมาใช้งาน:[7]

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

หนังสือโรรา[แก้]

Kaali Bala Ndole Wano หนึ่งในลูกพี่ลูกน้องของโมโมลู ดูวาลู บูเกเล เขียน หนังสืออึนโดเล หรือ หนังสือโรรา ในช่วง ค.ศ. 1845 ภายใต้นามปากกา โรรา เอกสารตัวเขียนเกือบ 50 หน้ามีสัญลักษณ์ที่ปัจจุบันไม่ใช้งานแล้วบางส่วน:[6]

รูปอดีต
รูปปัจจุบัน

ยูนิโคด[แก้]

ไว
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+A50x
U+A51x
U+A52x
U+A53x
U+A54x
U+A55x
U+A56x
U+A57x
U+A58x
U+A59x
U+A5Ax
U+A5Bx
U+A5Cx
U+A5Dx
U+A5Ex
U+A5Fx
U+A60x
U+A61x
U+A62x        
U+A63x                                


อ้างอิง[แก้]

  1. Migeod, F.W.H. (1909). "The syllabic writing of the Vai people". Journal of the African Society. 9 (33): 46–58. JSTOR 715184.
  2. Massaquoi, Momolu (1911). "The Vai people and their syllabic writing". Journal of the African Society. 10 (40): 459–466. JSTOR 714743.
  3. Coulmas, Florian (1996). The Blackwell Encyclopedia of Writing Systems. Wiley-Blackwell. pp. 537–539. ISBN 978-0-631-21481-6.
  4. Unseth, Peter (2011). "Invention of Scripts in West Africa for Ethnic Revitalization". ใน Fishman, Joshua A.; García, Ofelia (บ.ก.). Handbook of Language and Ethnic Identity: The Success-Failure Continuum in Language and Ethnic Identity Efforts. Vol. 2. New York: Oxford University Press. pp. 23–32. ISBN 978-0-19-983799-1.
  5. "British Library Documents showing the Vai script". www.bl.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-08-11. สืบค้นเมื่อ 2022-01-11.
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 "ISO/IEC JTC1/SC2/WG2 N2948R: Proposal to add the Vai script to the BMP of the UCS" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-01-26. สืบค้นเมื่อ 22 February 2012.
  7. "ISO/IEC JTC1/SC2/WG2 N3081R: Proposal for addition of Vai characters to the UCS" (PDF). สืบค้นเมื่อ 22 February 2012.

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Everson, Michael; Charles Riley; José Rivera (2005-08-01). "Proposal to add the Vai script to the BMP of the UCS" (PDF). Working Group Document. International Organization for Standardization. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-01-26. สืบค้นเมื่อ 2022-02-23.
  • Fatima Massaquoi-Fahnbulleh. 1963. "The Seminar on the Standardization of the Vai script," in University of Liberia Journal Vol. 3, No. 1, pp. 15–37.
  • "Vai syllabary". Omniglot. สืบค้นเมื่อ 16 June 2010.
  • Tuchscherer, Konrad. 2005. "History of Writing in Africa." In Africana: The Encyclopedia of the African and African American Experience (second edition), ed. by Kwame Anthony Appiah and Henry Louis Gates, Jr., pp. 476–480. New York: Oxford University Press.
  • Tuchscherer, Konrad. 2002 (with P.E.H. Hair). "Cherokee and West Africa: Examining the Origins of the Vai Script," History in Africa, 29, pp. 427–486.
  • Tuchscherer, Konrad. 2001. "The Vai Script," in Liberia: Africa's First Republic (Footsteps magazine). Petersborough, NH: Cobblestone Press.
  • Tykhostup, Olena and Piers Kelly. 2017. "A diachronic comparison of the Vai script of Liberia (1834–2005)." Journal of Open Humanities Data 4:2. doi: http://doi.org/10.5334/johnd.10.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]