อักษรลิเดีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรลิเดีย
ชนิดอักษร
ภาษาพูดภาษาลิเดีย
ช่วงยุค700-200 ปีก่อน ค.ศ.
ระบบแม่
ระบบพี่น้องอักษรอื่น ๆ ในชุดตัวอักษรของเอเชียน้อย
ช่วงยูนิโคดU+10920–U+1093F
ISO 15924Lydi
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

อักษรลิเดีย (อังกฤษ: Lydian script) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาลิเดีย โดยมีฐานจากชุดตัวอักษรฟินิเชียเหมือนกับอักษรอื่น ๆ ในอานาโตเลียสมัยยุคเหล็ก อักษรนี้มีความคล้ายคลึงกับชุกตัวอักษรกรีกตะวันออก แต่มีคุณลักษณะเฉพาะ ข้อความภาษาลิเดียยุคแรกเขียนทั้งขวาไปซ็ายหรือซายไปขวา ต่อมาข้อความทั้งหมดจึงเขียนจากขวาไปซ้าย

ชุดตัวอักษร[แก้]

ชุดตัวอักษรลิเดีย[2][3]มีความใกล้ชิดกับชุดตัวอักษรของเอเชียน้อยอื่น ๆ และชุดตัวอักษรกรีก มีพยัญชนะ 26 ตัว บางส่วนมีสัญลักษณ์มากกว่าหนึ่งรูป ซึ่งถือเป็นหนึ่ง "อักษร" ชุดตัวอักษรแคเรียมีอักษร f ที่มาจากอักษร Φ แต่อักษร f ของลิเดียมีรูปร่างคล้ายเลข 8 ที่สามารถพบได้ในชุดตัวอักษรอิทรัสคันใหม่ และในชุดตัวอักษรแบบเอียงของกลุ่มภาษาออสโก-อุมเบรีย เช่น ออสโก, อุมเบรีย, ซาบีนเก่า และไพซีนใต้ (วอลสเกียเก่า)[4] และคาดว่าเป็นตัวที่ทำให้เกิดผู้พูดภาษาซาเบลเลีย (กลุ่มภาษาออสโก-อุมเบรีย)[4]

อักษร ทับศัพท์ เสียง
(สัทอักษรสากล)
หมายเหตุ
ข้อความ ภาพ
𐤠 a [a]
𐤡 เดิม: b
ใหม่: p
[p~b]
𐤢 g [ɡ]
𐤣 d [θ~ð]?
𐤤 e [eː]
𐤥 เดิม: v
ใหม่: w
[w~v]
𐤦 i [i]
𐤧 y [i̯~j]?
𐤨 k [k~ɡ]
𐤩 l [l]
𐤪 m [m]
𐤫 n [n]
𐤬 o [oː]
𐤭 r [r]
𐤮 เดิม: ś
ใหม่: s
[s]
𐤯 t [t~d]
𐤰 u [u]
𐤱 f [f] หรือ [ɸ]
𐤲 q [kʷ]
𐤳 เดิม: s
ใหม่: š
[ç] หรือ [ʃ]
𐤴 τ [tç] หรือ [tʃ] 𐤴𐤴 ττ เป็นผลจาก 𐤯+‎𐤳 t+s ใน:
𐤨𐤠𐤯+𐤳𐤠𐤣𐤪𐤶𐤮 >‎ 𐤨𐤠𐤴𐤴𐤠𐤣𐤪𐤶𐤮
kat+sadmẽś > kaττadmẽś
𐤵 ã สระนาสิก
𐤶 สระนาสิก
𐤷 λ [ʎ] (หรือ [ɾʲ]?)
𐤸 ν [ɲ] หรือ [ŋ]?
𐤹 c [ts~dz]?

ตัวอย่างคำ[แก้]

𐤬𐤭𐤠 ora [ora] "ปาก"

𐤩𐤠𐤲𐤭𐤦𐤳𐤠 laqrisa [lakʷrisa] "กำแพง, dromos" หรือ "จารึก"[5]

𐤡𐤦𐤭𐤠 bira [pira] "บ้าน"

𐤥𐤹𐤡𐤠𐤲𐤶𐤫𐤯 wcbaqẽnt [w̩t͡spaˈkʷãnd] "เหยียบย่ำ" (จาก PIE *pekʷ- "บด")

ยูนิโคด[แก้]

ลิเดีย
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+1092x 𐤠 𐤡 𐤢 𐤣 𐤤 𐤥 𐤦 𐤧 𐤨 𐤩 𐤪 𐤫 𐤬 𐤭 𐤮 𐤯
U+1093x 𐤰 𐤱 𐤲 𐤳 𐤴 𐤵 𐤶 𐤷 𐤸 𐤹           𐤿


อ้างอิง[แก้]

  1. Himelfarb, Elizabeth J. "First Alphabet Found in Egypt", Archaeology 53, Issue 1 (Jan./Feb. 2000): 21.
  2. Adiego (2007) page 769.
  3. Everson (2006).
  4. 4.0 4.1 McDonald, Katherine (2015). Oscan in Southern Italy and Sicily (ภาษาอังกฤษ). Cambridge, UK: Cambridge University Press. pp. 65–82. ISBN 9781107103832.
  5. Kelder, Jorrit. "A new reading of Lydian laqrisa as "words" or "inscriptions" (?)" (ภาษาอังกฤษ). {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ข้อมูล[แก้]

  • Adiego, I. J. (2007). "Greek and Lydian". ใน Christidis, A.F.; Arapopoulou, Maria; Chriti, Maria (บ.ก.). A History of Ancient Greek From the Beginning to Late Antiquity. Chris Markham (trans.). Cambridge University press. ISBN 978-0-521-83307-3.. Translator Chris Markham.
  • Gérard, Raphaël (2005). Phonétique et morphologie de la langue lydienne. Louvain-la-Neuve: Peeters. ISBN 9042915749. French language text.
  • Gusmani, R. Lydisches Wörterbuch. Mit grammatischer Skizze und Inschriftensammlung, Heidelberg 1964 (Ergänzungsband 1-3, Heidelberg 1980-1986).
  • Melchert, H. Craig (2004) "Lydian", in Roger D. Woodard (ed.), The Cambridge Encyclopedia of the World's Ancient Languages. Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 0-521-56256-2. pp. 601–608.
  • Shevoroshkin, V. The Lydian Language, Moscow, 1977.
  • อักษรลิเดีย