อักษรบาตัก
อักษรบาตัก (อังกฤษ: Karo Batak syllabic alphabet) หรือ ซูรัตบาตัก พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะและอักษรกวิรุ่นเก่า เขียนจากล่างขึ้นบนในแนวตั้ง เริ่มจากซ้ายไปขวา มีที่มาจาการเขียนบนไม้ไผ่ เฉพาะนักบวชเท่านั้นที่อ่านเขียนอักษรนี้ได้ มีความแตกต่างกันเล็กน้อยสำหรับอักษรที่ใช้เขียนภาษาต่างกัน
เนื้อหา
การใช้[แก้]
อักษรบาตักถูกนำมาใช้ในภาษาต่าง ๆ ดังนี้
- ภาษากาโร บาตัก เป็นภาษาตระกูลออสตีนีเซียน มีผู้พูด 600,000 คน ในภาคกลางและภาคเหนือของเกาะสุมาตรา
- ภาษาโตบา บาตัก (Toba Batak syllabic alphabet) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูด 2 ล้านคนทางเหนือของเกาะสุมาตรา
- ภาษาไดรี บาตัก (Dairi Batak syllabic alphabet) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูด 1.2 ล้านคน ทางเหนือของเกาะสุมาตรา
- ภาษาซิมาลูงัน/ตีมูร์ (Simalungun/Timur syllabic alphabet) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซีย มีผู้พูด 800,000 คน ทางเหนือของสุมาตรา
- ภาษามันดาลิง บาตัก (Mandaling Batak syllabic alphabet) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผุ้พูด 400,000 คน ทางเหนือของเกาะสุมาตรา
- บางโอกาสใช้เขียนภาษามลายูด้วย
ประวัติ[แก้]
ชาวบาตัดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะชนชั้นปกครองสามารถใช้อักษรบาตักได้ ส่วนใหญ่ใช้เขียนคาถาอาคมและปฏิทิน หลังจากที่ชาวยุโรปมาถึงบาตัก เริ่มจากมิชชันนารีชาวเยอรมัน และชาวดัทช์ใน พ.ศ. 2421 ได้นำอักษรละตินมาใช้คู่กับอักษรบาตัก โดยใช้สอนในโรงเรียน และใช้ในเอกสารทางศาสนาคริสต์
จุดกำเนิด[แก้]
คาดว่าอักษรบาตักพัฒนามาจากอักษรปัลลวะและอักษรกวิโบราณ ที่เป็นลูกหลานของอักษรพราหมี
ลักษณะอักษร[แก้]
อักษรบาตักเขียนจากบนลงล่างและจากซ้ายไปขวา พยัญชนะมีพื้นเสียงเป็น /a/ และมีเครื่องหมายกำกับถ้าไม่มีเสียงสระ เสียงสระอื่น เสียงตัวสะกด เสียงตัวสะกด ŋ และ[x] แสดงด้วยเครื่องหมายบน ล่าง หรือหลังพยัญชนะ เช่น ba เขียนด้วยอักษร ba ตัวเดียว bi เขียนเป็น ba.i bang เขียนเป็น baŋ bing เขียนเป็น baŋ.i อักษรที่เป็นตัวสะกดจะมีเครื่องหมายต่อท้าย เช่น bam เขียนเป็น ba.ma.# bim เขียนเป็น ba.ma.i.# อักษรบาตักต่างจากอักษรในตระกูลอักษรพราหมีคือไม่มีการเชื่อมพยัญชนะเมื่อเขียนเป็นกลุ่ม
อักษร[แก้]
|
|
เครื่องหมายสระ[แก้]
ถอดเป็นอักษรละติน | เครื่องหมายอักษรบาตัก | ถอดเป็นอักษรละติน | เกาะอักษร/ka/ | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
กาโร | มันไดฯ | ไดรี | ซิมาฯ | โตบา | กาโร | มันไดฯ | ไดรี | ซิมาฯ | โตบา | ||
-a | ka | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() | |||||
-e | ![]() ![]() |
![]() |
![]() ![]() |
![]() |
![]() |
ke | ![]() ![]() |
![]() |
![]() ![]() |
![]() |
![]() |
-i | ![]() ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
ki | ![]() ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
-o | ![]() ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
ko | ![]() ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
-ou | ![]() |
kou | ![]() |
||||||||
-u | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
ku | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
-ng | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
kang | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
-h | ![]() |
![]() |
![]() |
kah | ![]() |
![]() |
![]() |
||||
– | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
k | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
การเชื่อมต่อกับเครื่องหมายเสียงสระอู[แก้]
|
|
ตมปี[แก้]
เครื่องหมายตมปีใช้เปลี่ยนเสียงของอักษรบางตัว
ha | tompi | ka | sa | tompi | ca |
---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
เครื่องหมายสำหรับ Ng และ H[แก้]
เครื่องหมายสำหรับ Ng () และ H (
) ใช้เขียนเหนือเครื่องหมายแทนที่จะเขียนบนอักษรหลัก
ตัวอย่าง: ping,
pong,
peh, และ
pih.
เครื่องหมายสำหรับพยางค์ปิด[แก้]
ในพยางค์ปิดเครื่องหมายสระเขียนไว้ท้ายสุด
ta | vowel | pa | pangolat | syllable |
---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() | |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
ยูนิโคด[แก้]
บาตัก Unicode.org chart (PDF) | ||||||||||||||||
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | A | B | C | D | E | F | |
U+1BCx | ᯀ | ᯁ | ᯂ | ᯃ | ᯄ | ᯅ | ᯆ | ᯇ | ᯈ | ᯉ | ᯊ | ᯋ | ᯌ | ᯍ | ᯎ | ᯏ |
U+1BDx | ᯐ | ᯑ | ᯒ | ᯓ | ᯔ | ᯕ | ᯖ | ᯗ | ᯘ | ᯙ | ᯚ | ᯛ | ᯜ | ᯝ | ᯞ | ᯟ |
U+1BEx | ᯠ | ᯡ | ᯢ | ᯣ | ᯤ | ᯥ | ᯦ | ᯧ | ᯨ | ᯩ | ᯪ | ᯫ | ᯬ | ᯭ | ᯮ | ᯯ |
U+1BFx | ᯰ | ᯱ | ᯲ | ᯳ | ᯼ | ᯽ | ᯾ | ᯿ |