ไฮเออโรกลีฟอานาโตเลีย
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก อักษรลูเวีย)
ไฮเออโรกลีฟอานาโตเลีย ไฮเออโรกลีฟลูเวีย ไฮเออโรกลีฟฮิตไทต์ | |
---|---|
จารึกจากฮะมาฮ์ เขียนด้วยไฮเออโรกลีฟอานาโตเลีย | |
ชนิด | |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | ภาษาลูเวีย |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Hluw (080), Anatolian Hieroglyphs (Luwian Hieroglyphs, Hittite Hieroglyphs) |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Anatolian Hieroglyphs |
ช่วงยูนิโคด | U+14400–U+1467F [1] |
ไฮเออโรกลีฟอานาโตเลีย (อังกฤษ: Anatolian hieroglyphs) เป็นอักษรตัวหนังสือคำที่พบในอานาโตเลียตอนกลาง ประกอบด้วยสัญลักษณ์ 500 สัญลักษณ์ ครั้งหนึ่งเคยรู้จักกันในชื่อ ไฮเออโรกลีฟฮิตไทต์ (Hittite hieroglyphs) แต่ภาษาที่ผ่านการถอดความพิสูจน์เป็นภาษาลูเวีย ไม่ใช่ภาษาฮิตไทต์ และมีการใช้งานศัพท์ ไฮเออโรกลีฟลูเวีย (Luwian hieroglyphs) ในสิ่งพิมพ์ภาษาอังกฤษ ตัวอักษรมีความคล้ายกับไฮเออโรกลีฟอียิปต์ แต่ไม่ได้พัฒนารูปอักษรมาจากอักษรนั้น ไม่มีการเชื่อมโยงกับอักษรรูปลิ่มฮิตไทต์ที่เชื่อถือได้[2][3][4]
ระบบการเขียนนี้มีคำพ้องเสียงมาก เครื่องหมายสระเป็นเช่นเดียวกับอักษรสุเมเรียคือไม่ได้แสดงหน่วยเสียงที่เฉพาะ อาจมีสัญลักษณ์ถึง 6 ตัวแสดงเสียงเดียวกัน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Final Accepted Script Proposal
- ↑ Payne, A. (2004). Hieroglyphic Luwian. Wiesbaden: Harrassowitz. p. 1. ISBN 3-447-05026-8.
- ↑ Melchert, H. Craig (2004). "Luvian". ใน Woodard, Roger D. (บ.ก.). The Cambridge Encyclopedia of the World's Ancient Languages. Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 0-521-56256-2.
- ↑ Melchert, H. Craig (1996). "Anatolian Hieroglyphs". ใน Daniels, Peter T.; Bright, William (บ.ก.). The World's Writing Systems. New York and Oxford: Oxford University Press. ISBN 0-19-507993-0.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ไฮเออโรกลีฟอานาโตเลีย
- Luwian Hieroglyphics from the Indo-European Database
- Sign list, with logographic and syllabic readings
- AncientScripts.com
- (อังกฤษ) อักษรลูเวีย