อักษรรัญชนา
อักษรรัญชนา | |
---|---|
![]() | |
ชนิด | อักษรสระประกอบ |
ภาษาพูด | ภาษาเนวาร์, ภาษาสันสกฤต, ภาษาทิเบต |
ช่วงยุค | ป. ค.ศ. 1100-ปัจจุบัน |
ระบบแม่ | |
ระบบลูก | อักษรโซยอมโบ |
ระบบพี่น้อง | อักษรภูชิโมล, อักษรปรัจลิต |
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด |
อักษรรัญชนา (रंजना, Rañjanā) หรือกูติลา หรือลันต์ซา (Lantsa) เป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี เมื่อราว พ.ศ. 1600 และใช้มาจนถึงราว พ.ศ. 2500 ในอินเดียและเนปาล ชาวทิเบตเรียกอักษรนี้ว่าลันต์ซา ใช้เขียนภาษาสันสกฤตก่อนจะแปลเป็นภาษาทิเบต ชาวทิเบตเลิกใช้อักษรนี้เมื่อถูกจีนยึดครอง นอกจากนี้ มีการใช้อักษรนี้ในหมู่ชาวพุทธในจีน มองโกเลีย และญี่ปุ่น
ใช้เขียน[แก้]
- ภาษาเนวาร์ ซึ่งอยู่ในกลุ่มทิเบต-พม่า มีผู้พูดในอินเดียและเนปาลราว 775,000 คน นอกจากนี้ ภาษาเนวาร์ยังเขียนด้วยอักษรเทวนาครีและอักษรอื่นๆอีกหลายชนิดอีกด้วย
- ภาษาสันสกฤต
พยัญชนะ[แก้]



รัสสระ | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
ทีฆสระ | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |