อักษรกวิ
อักษรกวิ | |
---|---|
![]() จารึกความร่วมมือลากูนา เขียนด้วยอักษรกวิ พบที่ฟิลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 1453 | |
ชนิด | อักษรสระประกอบ |
ภาษาพูด | บาหลีเก่า, ขวาเก่า, ซุนดาเก่า, มาเลย์เก่า, สันสกฤต |
ช่วงยุค | พุทธศตวรรษที่ 13 - 21 |
ระบบแม่ | |
ระบบลูก | อักษรบาหลี อักษรบาตัก อักษรบายบายิน อักษรบูฮิด อักษรฮานูโนโอ อักษรลนตารา อักษรซุนดาโบราณ อักษรเรนกอง อักษรเรชัง อักษรตักบันวา |
ระบบพี่น้อง | อักษรเขมร อักษรครันถะ อักษรจาม อักษรมอญ อักษรทมิฬ |
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด |
อักษรกวิ (กะ-วิ) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า อักษรชวาเก่า เป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรในอินเดียใต้ ใช้ในบริเวณหมู่เกาะ เช่น ชวา สุมาตรา ทางภาคใต้ของไทยมีหลักฐานว่าเคยใช้อักษรนี้แต่ไม่แพร่หลายมากนัก ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้อักษรไทยและอักษรขอม อักษรกวิไม่มีบ่าอักษรเช่นเดียวกับอักษรมอญโบราณ
อ้างอิง[แก้]
- สุจิตต์ วงษ์เทศ. อักษรไทย มาจากไหน กรุงเทพฯ. มติชน. 2548
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
บทความเกี่ยวกับภาษานี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ภาษา |