อักษรอาระเบียใต้
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
อักษรอาระเบียใต้ | |
---|---|
ชนิด | อักษรไร้สระ |
ภาษาพูด | Ge'ez, กลุ่มภาษาอาระเบียใต้โบราณ |
ช่วงยุค | ประมาณ ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 7 |
ระบบแม่ |
ไฮเออโรกลีฟอียิปต์
|
ระบบลูก | เอธิโอเปีย[1][2] |
ระบบพี่น้อง | อักษรฟินิเชีย |
ช่วงยูนิโคด | U+1BC0–U+10A7F |
ISO 15924 | Sarb |
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด |

ตัวอักษรอาระเบียใต้ที่กล่าวถึงการสรรเสริญเทพอัลมะเกาะฮ์
อักษรอาระเบียใต้ (อักษรอาระเบียใต้: 𐩣𐩯𐩬𐩵 ms3nd; ปัจจุบัน อาหรับ: الْمُسْنَد musnad) เป็นอักษรที่แยกมาจากอักษรโปรโต-ซิเนติก ที่ใช้ในตั้งแต่ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล [3]
การใช้งาน[แก้]
- ส่วนใหญ่จะเขียนจากขวาไปซ้าย แต่สามารถเขียนจากซ้ายไปขวาได้ โดยที่ตัวอักษรถูกพลิกในแนวตั้ง (ดูภาพวิกิพีเดีย).
- การแยกคำจะใช้เส้นตรง (|).
- ตัวอักษรไม่สามารถเขียนติดกัน
- ไม่ได้ใช้เครื่องหมายกำกับใด ๆ (เช่น จุด ฯลฯ), ซึ่งแตกต่างกับอักษรอาหรับในปัจจุบัน.
ตัวอักษร[แก้]
อักษร | ชื่อยูนิโคด[4] | ออกเสียง | IPA | รูปร่าง | ตัวอักษรในภาษาอื่น | |||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ภาพ | ตัวอักษร | ฟินิเชีย | เอธิโอเปีย | ฮีบรู | อาหรับ | |||||
𐩠 | he | h | /h/ | Y | 𐤄 | ሀ | ה | ه | ||
𐩡 | lamedh | l | /l/ | 1 | 𐤋 | ለ | ל | ﻝ | ||
𐩢 | heth | ḥ | /ħ/ | Ψ | 𐤇 | ሐ | ח | ﺡ | ||
𐩣 | mem | m | /m/ | B กลับหัว | 𐤌 | መ | מ | ﻡ | ||
𐩤 | qoph | q | /q/ | Φ | 𐤒 | ቀ | ק | ﻕ | ||
𐩥 | waw | w | /w/ | Φ | 𐤅 | ወ | ו | ﻭ | ||
𐩦 | shin | s² (ś, š) | /ɬ/ | W แนวตั้ง | 𐤔 | ሠ | ש | ﺵ | ||
𐩧 | resh | r | /r/ | C กลับหัว | 𐤓 | ረ | ר | ﺭ | ||
𐩨 | beth | b | /b/ | Π | 𐤁 | በ | ב | ﺏ | ||
𐩩 | taw | t | /t/ | X | 𐤕 | ተ | ת | ﺕ | ||
𐩪 | sat | s¹ (š, s) | /s/ | Π | ሰ | ﺱ | ||||
𐩫 | kaph | k | /k/ | Π | 𐤊 | ከ | כ | ﻙ | ||
𐩬 | nun | n | /n/ | S กลับหัว | 𐤍 | ነ | נ | ﻥ | ||
𐩭 | kheth | ḫ | /x/ | Y | ኀ | ﺥ | ||||
𐩮 | sadhe | ṣ | /sˤ/ | λ | 𐤑 | ጸ | צ | ص | ||
𐩯 | samekh | s³ (s, ś) | /s̪/ | X | 𐤎 | ס | س | |||
𐩰 | fe | f | /f/ | O | 𐤐 | ፈ | ف | |||
𐩱 | alef | ʾ | /ʔ/ | Π | 𐤀 | አ | א | ﺍ | ||
𐩲 | ayn | ʿ | /ʕ/ | O | 𐤏 | ዐ | ע | ﻉ | ||
𐩳 | dhadhe | ḍ | /ɬˤ/ | θ | ፀ | ض | ||||
𐩴 | gimel | g | /ɡ/ | Γ กลับหัว | 𐤂 | ገ | ג | ﺝ | ||
𐩵 | daleth | d | /d/ | แนวตั้ง | 𐤃 | ደ | ד | ﺩ | ||
𐩶 | ghayn | ġ | /ɣ/ | Π | غ | |||||
𐩷 | teth | ṭ | /tˤ/ | θ หมุน 90° | 𐤈 | ጠ | ט | ﻁ | ||
𐩸 | zayn | z | /z/ | แนวตั้ง | 𐤆 | ዘ | ז | ﺯ | ||
𐩹 | dhaleth | ḏ | /ð/ | H | ذ | |||||
𐩺 | yodh | y | /j/ | Q | 𐤉 | የ | י | ﻱ | ||
𐩻 | thaw | ṯ | /θ/ | 8 | ﺙ | |||||
𐩼 | theth | ẓ | /θˤ/ | h | ظ |
ตัวเลข[แก้]
มีตัวอักษรที่ใช้เป็นตัวเลข 6 ตัว:
1 | 5 | 10 | 50 | 100 | 1000 |
---|---|---|---|---|---|
𐩽 | 𐩭 | 𐩲 | 𐩾 | 𐩣 | 𐩱 |
ส่วนเลข 50 คือรูปสามเหลี่ยมที่มีค่า 100 นำมาลบเส้นล่างออก[5]
และสัญลักษณ์เพิ่มเติม (𐩿) มักใช้แยกระหว่างตัวเลขและอักษรออกจากกัน[5] ตัวอย่างเช่น: 𐩿𐩭𐩽𐩽𐩿
สัญลักษณ์เหล่านี้สามารถใช้เป็นตัวเลข เหมือนกับตัวเลขโรมัน (ไม่รวมเลขศูนย์). มีสองตัวอย่าง:
- 17 ถูกเขียนเป็น 1 + 1 + 5 + 10: 𐩲𐩭𐩽𐩽
- 99 ถูกเขียนเป็น 1 + 1 + 1 + 1 + 5 + 10 + 10 + 10 + 10 + 50: 𐩾𐩲𐩲𐩲𐩲𐩭𐩽𐩽𐩽𐩽
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
𐩽 | 𐩽𐩽 | 𐩽𐩽𐩽 | 𐩽𐩽𐩽𐩽 | 𐩭 | 𐩭𐩽 | 𐩭𐩽𐩽 | 𐩭𐩽𐩽𐩽 | 𐩭𐩽𐩽𐩽𐩽 | 𐩲 |
11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 |
𐩲𐩽 | 𐩲𐩽𐩽 | 𐩲𐩽𐩽𐩽 | 𐩲𐩽𐩽𐩽𐩽 | 𐩲𐩭 | 𐩲𐩭𐩽 | 𐩲𐩭𐩽𐩽 | 𐩲𐩭𐩽𐩽𐩽 | 𐩲𐩭𐩽𐩽𐩽𐩽 | 𐩲𐩲 |
หลักพันสามารถเขียนได้สองแบบ คือ:
- เลขที่มีค่าน้อย จะเขียนโดยใช้สัญลักษณ์ 1000. ตัวอย่างเช่น: 8,000 ถูกเขียนเป็น 1000 × 8: 𐩱𐩱𐩱𐩱𐩱𐩱𐩱𐩱
- เลขที่มีค่ามาก จะเขียนโดยใช้สัญลักษณ์จากเลข 10, 50 และ 100 จนถึง 10,000, 50,000, และ 100,000:
- 31,000 ถูกเขียนเป็น 1000 + 10,000 × 3: 𐩲𐩲𐩲𐩱 (มักสับสนเป็น 1,030)
- 40,000 ถูกเขียนเป็น 10,000 × 4: 𐩲𐩲𐩲𐩲 (มักสับสนเป็น 40)
- 253,000 ถูกเขียนเป็น 2 × 100.000 + 50.000 + 3 × 1000: 𐩣𐩣𐩾𐩱𐩱𐩱 (มักสับสนเป็น 3,250)
ยูนิโคด[แก้]
ดูบทความหลักที่: อักษรอาระเบียใต้ (บล็อกยูนิโคด)
มีการเพิ่มยูนิโคดสำหรับอักษรอาระเบียใต้ในรุ่น 5.2 ในเดือนตุลาคม ค.ศ.2009 โดยมีชื่อบล็อกว่าอักษรอาระเบียใต้ ซึ่งเริ่มตั้งแต่ U+10A60–U+10A7F.
หมายเหตุ: U+10A7D (𐩽) เป็นได้ทั้งเลขหนึ่งและตัวแบ่งคำ.[5]
แม่แบบ:Unicode chart Old South Arabian
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Daniels, Peter T.; Bright, William, eds. (1996). The World's Writing Systems. Oxford University Press, Inc. pp. 89, 98, 569–570. ISBN 978-0195079937.
- ↑ Gragg, Gene (2004). "Ge'ez (Aksum)". In Woodard, Roger D. The Cambridge Encyclopedia of the World's Ancient Languages. Cambridge University Press. p. 431. ISBN 0-521-56256-2.
- ↑ Fattovich, Rodolfo, "Akkälä Guzay" in Uhlig, Siegbert, ed. Encyclopaedia Aethiopica: A-C. Wiesbaden: Otto Harrassowitz KG, 2003, p. 169.
- ↑ "Unicode Character Database: UnicodeData.txt". The Unicode Standard. สืบค้นเมื่อ 2017-09-11.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 Maktari, Sultan; Mansour, Kamal (2008-01-28). "L2/08-044: Proposal to encode Old South Arabian Script" (PDF).
สารานุกรม[แก้]
- Stein, Peter (2005). "The Ancient South Arabian Minuscule Inscriptions on Wood: A New Genre of Pre-Islamic Epigraphy". Jaarbericht van het Vooraziatisch-Egyptisch Genootschap "Ex Oriente Lux". 39: 181–199.
- Stein, Peter (2010). Die altsüdarabischen Minuskelinschriften auf Holzstäbchen aus der Bayerischen Staatsbibliothek in München.
- Beeston, A.F.L. (1962). "Arabian Sibilants". Journal of Semitic Studies. 7 (2): 222–233. doi:10.1093/jss/7.2.222.
- Francaviglia Romeo, Vincenzo (2012). Il trono della regina di Saba, Artemide, Roma. pp. 149–155..