ข้ามไปเนื้อหา

อักษรไกถี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรไกถี
อักษรกยถี, อักษรกยัสถี, 𑂍𑂶𑂟𑂲
ชนิด
ช่วงยุค
พุทธศตวรรษที่ 21–25
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาอังคิกา, ภาษาอวัธ, ภาษาโภชปุระ, ภาษามคธ, ภาษาไมถิลี, ภาษาอูรดู
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบลูก
อักษรสิเลฏินาครี
ระบบพี่น้อง
อักษรเทวนาครี
ISO 15924
ISO 15924Kthi (317), ​Kaithi
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Kaithi
ช่วงยูนิโคด
U+11080-U+110CF

อักษรไกถี (कैथी), หรืออักษรกยถี หรืออักษรกยัสถี เป็นชื่อของอักษรที่เคยใช้ในอินเดียเหนือสมัยโบราณ โดยเฉพาะบริเวณที่ต่อมาจะเป็นจังหวัดตะวันตกเฉียงเหนือ อวัธ และพิหาร ซึ่งเคยใช้เป็นตัวอักษรในทางกฎหมาย การบริหาร และบันทึกส่วนตัว[1]

ที่มา

[แก้]

ชื่อของอักษรไกถีได้มาจากคำว่า กยัสถะ ซึ่งเป็นกลุ่มทางสังคมในอินเดีย[2] ชุมชนกยัสถะมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเจ้านครรัฐและรัฐบาลอาณานิคมในอินเดียเหนือ อักษรจึงมีชื่อว่าอักษรไกถี

ประวัติ

[แก้]
อักษรไกถีในรูปแบบตัวพิมพ์เมื่อราว พ.ศ. 2393

เอกสารที่เขียนด้วยอักษรไกถิที่ตรวจสอบได้พบตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 21 อักษรนี้ใช้มากในสมัยจักรวรรดิโมกุล ในราว พ.ศ. 1933 ในสมัย บริติชราช อักษรนี้เป็นอักษรทางการในศาลของพิหาร ซึ่งนิยมใช้อักษรไกถีมากกว่าอักษรเทวนาครี แต่ต่อมาความนิยมใช้ได้ลดลง

ยูนิโคด

[แก้]
Kaithi[1]
ผังอักษรของ Unicode.org (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+1108x 𑂀 𑂁 𑂂 𑂃 𑂄 𑂅 𑂆 𑂇 𑂈 𑂉 𑂊 𑂋 𑂌 𑂍 𑂎 𑂏
U+1109x 𑂐 𑂑 𑂒 𑂓 𑂔 𑂕 𑂖 𑂗 𑂘 𑂙 𑂚 𑂛 𑂜 𑂝 𑂞 𑂟
U+110Ax 𑂠 𑂡 𑂢 𑂣 𑂤 𑂥 𑂦 𑂧 𑂨 𑂩 𑂪 𑂫 𑂬 𑂭 𑂮 𑂯
U+110Bx 𑂰 𑂱 𑂲 𑂳 𑂴 𑂵 𑂶 𑂷 𑂸 𑂹 𑂺 𑂻 𑂼 𑂽 𑂾 𑂿
U+110Cx 𑃀 𑃁
หมายเหตุ
1.^ รหัสยูนิโคดรุ่น 6.1

อ้างอิง

[แก้]
  1. King, Christopher R. (1994). One Language, Two Scripts: The Hindi Movement in Nineteenth Century North India. Bombay: Oxford University Press. ISBN 0-19-563565-5. OCLC 1508150041.
  2. Grierson, George A. (1899). A Handbook to the Kaithi Character (microform) (2nd rev. ed.). Calcutta: Thacker, Spink & Co. OCLC 17879208.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]