ข้ามไปเนื้อหา

อุทยานธรณีโลกในประเทศไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อุทยานธรณีโลกในประเทศไทย ที่มีการขึ้นทะเบียนจากองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) มีทั้งหมด 2 แห่ง คือ อุทยานธรนีสตูล และอุทยานธรณีโคราช โดยคัดเลือกและขึ้นทะเบียนเพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์มรดกทางธรณีวิทยาของโลก ตลอดจนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาอย่างยั่งยืนของชุมชนที่เกี่ยวข้อง

นอกจากนี้ยังมีอุทยานธรณีขอนแก่นซึ่งมีแผนเสนอชื่อขอเป็นสมาชิกเครือข่ายอุทยานธรณีโลกในปี พ.ศ. 2566[1] รวมถึงอุทยานธรณีผาชัน สามพันโบก ซึ่งมีแผนจะขึ้นทะเบียนในปี พ.ศ. 2567[2]

ที่ตั้ง

[แก้]
ที่ตั้งอุทยานธรณีโลกในประเทศไทย

รายชื่ออุทยานธรณีโลกในประเทศไทย

[แก้]
สถานที่ รูป ที่ตั้ง พื้นที่
(km2)
ปี
พ.ศ./
ค.ศ.
หมายเหตุ อ้างอิง
สตูล
จังหวัดสตูล
7°05′27″N 99°46′06″E / 7.090861°N 99.768397°E / 7.090861; 99.768397 (Satun UNESCO Global Geopark)
2597 2561/2018 ครอบคลุม 4 อำเภอในจังหวัดสตูล ได้แก่ อำเภอเมือง ทุ่งหว้า มะนัง และละงู มีพื้นที่ 2,597 ตร.กม. [3][4]
โคราช
จังหวัดนครราชสีมา
14°51′31″N 102°01′32″E / 14.858613°N 102.025532°E / 14.858613; 102.025532 (Khorat UNESCO Global Geopark)
3167 2566/2023 ประกอบด้วย พื้นที่ในบริเวณลุ่มน้ำลำตะคองตอนกลางถึงตอนล่าง ครอบคลุม 5 อำเภอต่อเนื่องกันในจังหวัดนครราชสีมา ได้แก่ อำเภอสีคิ้ว สูงเนิน ขามทะเลสอ เมืองนครราชสีมา และเฉลิมพระเกียรติ มีพื้นที่ 3,167 ตร.กม. หรือร้อยละ 15.22 ของพื้นที่จังหวัด [5]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. กรมทรัพยฯนำทัพเปิดโลกอุทยานธรณีเพื่อการท่องเที่ยว เผยยูเนสโกขึ้นบัญชีอุทยานธรณีขอนแก่นเป็นอุทยานธรณีโลกภายในปีนี้
  2. 7 พฤษภาคม 2565 อุบลฯ ผนึก กรมทรัพยากรธรณี ดันสามพันโบกสู่อุทยานธรณีโลก
  3. "Satun Unesco Global Geopark (Thailand)". สืบค้นเมื่อ 13 September 2022.
  4. "Satun Geopark - Official website" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-02-05. สืบค้นเมื่อ 13 September 2022.
  5. "Khorat Geopark - Official website". สืบค้นเมื่อ 29 May 2023.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]