สถานีรถไฟปาดังเบซาร์ (ไทย)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สถานีรถไฟปาดังเบซาร์ (ไทย)
Padang Besar (Thai)
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
พิกัด6°40′08″N 100°19′28″E / 6.6689°N 100.3244°E / 6.6689; 100.3244พิกัดภูมิศาสตร์: 6°40′08″N 100°19′28″E / 6.6689°N 100.3244°E / 6.6689; 100.3244
เจ้าของไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย
สาย รฟท. ใต้ 
ชานชาลา1
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างระดับดิน
ระดับชานชาลา-
ที่จอดรถด้านหน้าสถานี
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานี-
ประวัติ
เปิดให้บริการ21 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (7 ปี)
สถานีรถไฟปาดังเบซาร์
(ไทย)
Padang Besar(Thai)
กิโลเมตรที่ 0.67
คลองแงะ
Khlong Ngae
19.59 กม.
ปาดังเบซาร์
Padang Besar
+0.27 กม.
ดูเพิ่ม : รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้

สถานีรถไฟปาดังเบซาร์ (ไทย) เป็นสถานีรถไฟที่ตั้งในตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยอยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีไป 978 กิโลเมตร

ข้อมูลจำเพาะ[แก้]

  • ประเภทเส้นทาง : ทางรถไฟทางไกลสายใต้
  • รหัส  : -
  • ชื่อภาษาไทย  : ปาดังเบซาร์ (ไทย)
  • ชื่อภาษาอังกฤษ : Padang Besar (Thai)
  • ชื่อย่อภาษาไทย : ปซ.2
  • ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : -
  • ชั้นสถานี  : -
  • ระบบอาณัติสัญญาณ : ไม่มี
  • พิกัดที่ตั้ง  : -
  • ที่อยู่  : ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90240
  • ขบวนรถ/วัน: -
  • ปริมาณผู้โดยสาร/วัน : -
  • สถานีก่อนหน้า : สถานีรถไฟคลองแงะ
  • สถานีถัดไป : สถานีรถไฟปาดังเบซาร์
  • ห่างจากสถานีกรุงเทพ : 988.95 กิโลเมตร
  • ห่างจากสถานีธนบุรี : 972.90 กิโลเมตร

ตารางเดินรถ[แก้]

***

ประวัติ[แก้]

บริการ[แก้]

  • รถไฟสายด่วน หมายเลข 45/46 กรุงเทพ-ปาดังเบซาร์-กรุงเทพ
  • รถไฟบริการพิเศษข้ามชายแดน หมายเลข 947/948 สถานีชุมทางหาดใหญ่-ปาดังเบซาร์-สถานีชุมทางหาดใหญ่
  • รถไฟบริการพิเศษข้ามชายแดน หมายเลข 949/950 สถานีชุมทางหาดใหญ่-ปาดังเบซาร์-สถานีชุมทางหาดใหญ่
  • เอ็กซ์เพรสเพนินซูลาร์ (เคทีเอ็ม) หมายเลข 953/954 สถานีชุมทางหาดใหญ่-สถานีรถไฟยะโฮร์บาห์รูเซ็นทรัล-สถานีชุมทางหาดใหญ่

ลำดับสถานี[แก้]

สถานีรถไฟ ก่อนหน้า สถานีรถไฟลำดับที่444 ถัดไป
สถานีรถไฟนาพู่ สถานีรถไฟปาดังเบซาร์ (ไทย) สถานีรถไฟด่านพรมแดนบ้านคลองลึก
ลำดับสถานีรถไฟ 443 444 445
วันเปิดใช้งาน 16 มีนาคม พ.ศ. 2558 21 ธันวาคม พ.ศ. 2558 22 เมษายน 2562

อ้างอิง[แก้]

  • Ichirō, Kakizaki (2010). Ōkoku no tetsuro: tai tetsudō no rekishi. Kyōto: Kyōtodaigakugakujutsushuppankai. ISBN 978-4-87698-848-8.
  • Otohiro, Watanabe (2013). Tai kokutetsu yonsenkiro no tabi: shasō fūkei kanzen kiroku. Tōkyō: Bungeisha. ISBN 978-4-286-13041-5.