จังหวัดนครสวรรค์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครสวรรค์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ66.52%
  First party Second party Third party
 
พรรค ไทยรักไทย ชาติไทย ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 3 3 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 เพิ่มขึ้น3 Steady0
คะแนนเสียง 215,329 85,571 118,565
% 42.51 16.89 23.41

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
กส
พรรค ชาติพัฒนา ความหวังใหม่ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 3 2 1
ที่นั่งที่ชนะ 0 0 ไม่ส่งผู้สมัคร
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง3 ลดลง2 ลดลง1
คะแนนเสียง 21,183 3,480 995
% 4.18 0.69 0.20

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 7 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดนครสวรรค์)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. %
ไทยรักไทย 215,329 42.51%
ชาติไทย 85,571 16.89%
ประชาธิปัตย์ 118,565 23.41%
ชาติพัฒนา 21,183 4.18%
ความหวังใหม่ 3,480 0.69%
กิจสังคม 995 0.20%
อื่น ๆ 61,458 12.13%
ผลรวม 506,581 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
42.51%
ชาติไทย
  
16.89%
ประชาธิปัตย์
  
23.41%
ชาติพัฒนา
  
4.18%
ความหวังใหม่
  
0.69%
กิจสังคม
  
0.20%
อื่น ๆ
  
12.13%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดนครสวรรค์)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

การเปลี่ยนแปลงเขตการเลือกตั้ง[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดนครสวรรค์
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 2,269 0.45
ชาวไทย (2) 1,104 0.22
กสิกรไทย (3) 854 0.17
นิติมหาชน (4) 2,135 0.42
ความหวังใหม่ (5) 3,480 0.69
รักสามัคคี (6) 3,024 0.60
ไทยรักไทย (7) 215,329 42.51
ชาติประชาธิปไตย (8) 6,027 1.19
ชาติไทย (9) 85,571 16.89
สันติภาพ (10) 410 0.08
ถิ่นไทย (11) 9,917 1.96
พลังประชาชน (12) 1,157 0.23
ราษฎร (13) 1,998 0.39
สังคมใหม่ (14) 950 0.19
เสรีธรรม (15) 3,491 0.69
ประชาธิปัตย์ (16) 118,565 23.41
อำนาจประชาชน (17) 3,335 0.66
ประชากรไทย (18) 2,334 0.46
ไท (19) 2,150 0.42
ก้าวหน้า (20) 606 0.12
ชาติพัฒนา (21) 21,183 4.18
แรงงานไทย (22) 755 0.15
เผ่าไท (23) 341 0.07
สังคมประชาธิปไตย (24) 822 0.16
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 515 0.10
พัฒนาสังคม (26) 1,213 0.24
ไทยช่วยไทย (27) 2,423 0.48
ไทยมหารัฐ (28) 514 0.10
ศรัทธาประชาชน (29) 939 0.19
วิถีไทย (30) 267 0.05
ไทยประชาธิปไตย (31) 4,617 0.91
พลังธรรม (32) 1,395 0.28
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 924 0.18
กิจสังคม (34) 995 0.20
เกษตรมหาชน (35) 1,022 0.20
พลังเกษตรกร (36) 1,730 0.34
สยาม (37) 2,220 0.44
บัตรดี 506,581 95.88
บัตรเสีย 14,060 2.66
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,697 1.46
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 528,338 66.52
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 794,246 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลปากน้ำโพ ตำบลนครสวรรค์ตก ตำบลนครสวรรค์ออก (ในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์) ตำบลวัดไทร ตำบลบึงเสนาท ตำบลบางม่วง ตำบลหนองกรด และตำบลหนองกระโดน]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย ภิญโญ นิโรจน์ (9)* 32,012 46.66
ไทยรักไทย พันตำรวจเอก วีระศักดิ์ ชลายนคุปต์ (7) 21,700 31.63
ประชาธิปัตย์ อดุลย์ หมู่พยัคฆ์ (16) 11,323 16.51
ถิ่นไทย สุรินทร์ นิลกำแหง (11) 1,796 2.62
ราษฎร ว่าที่ร้อยตรี จิรายุ ศวิตชาต (13) 1,770 2.58
ผลรวม 68,601 100.00
บัตรดี 68,601 86.73
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,091 5.17
บัตรเสีย 6,410 8.10
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 79,102 68.72
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 115,112 100.00
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองนครสวรรค์ (เฉพาะตำบลบางพระหลวง และตำบลบ้านมะเกลือ) อำเภอชุมแสง และอำเภอท่าตะโก

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เกษม ปานอุดมลักษณ์ (16) 34,184 52.32
ไทยรักไทย สุนัย จุลพงศธร (7)* 30,189 46.21
ชาติไทย พันตำรวจโท อรุณ แตงนารา (9) 960 1.47
ผลรวม 65,333 100.00
บัตรดี 65,333 84.58
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,499 1.94
บัตรเสีย 10,411 13.48
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 77,243 69.46
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 111,205 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองนครสวรรค์ [เฉพาะตำบลนครสวรรค์ออก (นอกเขตเทศบาลนครสวรรค์) ตำบลตะเคียนเลื่อน ตำบลกลางแดด ตำบลหนองปลิง ตำบลพระนอน ตำบลแควใหญ่ และตำบลเกรียงไกร] อำเภอพยุหะคีรี และอำเภอโกรกพระ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย สมควร โอบอ้อม (9)✔ 29,619 45.32
ไทยรักไทย วีระกร คำประกอบ (7)* 23,117 35.37
ประชาธิปัตย์ สงกรานต์ จิตสุทธิภากร (16) 7,510 11.49
ชาติพัฒนา ยงยุทธ เฉลิมพงษ์ (21) 4,616 7.06
ประชากรไทย ว่าที่ร้อยตรี วสันต์ พวงเทพ (18) 291 0.45
ไทยมั่นคง พรพรหมธรรม นุสติ (38) 197 0.30
ผลรวม 65,350 100.00
บัตรดี 65,350 85.00
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,196 2.86
บัตรเสีย 9,330 12.14
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 76,876 67.12
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 114,530 100.00
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองนครสวรรค์ (เฉพาะตำบลบ้านแก่ง) อำเภอบรรพตพิสัย อำเภอเก้าเลี้ยว และอำเภอลาดยาว (เฉพาะตำบลเนินขี้เหล็ก ตำบลหนองนมวัว และตำบลบ้านไร่)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สัญชัย วงษ์สุนทร (7) 31,117 48.77
ชาติไทย สรรเสริญ นภาพร (9) 23,612 37.00
ประชาธิปัตย์ ศิริพงษ์ จันทร์ชุ่ม (16) 9,081 14.23
ผลรวม 63,810 100.00
บัตรดี 63,810 84.09
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,721 2.27
บัตรเสีย 10,348 13.64
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,879 65.29
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,220 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอไพศาลี อำเภอหนองบัว และอำเภอตากฟ้า (เฉพาะตำบลลำพยนต์ ตำบลสุขสำราญ และตำบลพุนกยูง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย เมธี ฉัตรจินดารัตน์ (7) 35,230 53.70
ชาติไทย ธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์ (9)* 16,602 25.30
ชาติพัฒนา ชบา แจ่มใส (21) 9,380 14.30
ประชาธิปัตย์ ชาญ สร้อยจำปา (16) 4,130 6.30
เกษตรมหาชน ธนพล บุญจิตร (35) 268 0.41
ผลรวม 65,610 100.00
บัตรดี 65,610 82.63
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,848 2.33
บัตรเสีย 11,945 15.04
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 79,403 69.00
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 115,072 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 6[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอตาคลี และอำเภอตากฟ้า (ยกเว้นตำบลลำพยนต์ ตำบลสุขสำราญ และตำบลพุนกยูง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์ (7) 24,252 40.98
ประชาธิปัตย์ พรพิศิษฐ แจ่มใส (16) 20,257 34.23
ชาติไทย พีระเดช ศิริวันสาณฑ์ (9) 12,106 20.46
ชาติพัฒนา จรวด มัทธวรัตน์ (21) 991 1.68
ความหวังใหม่ วันชัย ม่วงงาม (5) 611 1.03
ถิ่นไทย พันจ่าอากาศเอก ทวีศักดิ์ ชีวางกูล (11) 490 0.83
ราษฎร เรืออากาศตรี สัญชัย ศวิตชาต (13) 470 0.79
ผลรวม 59,177 100.00
บัตรดี 59,177 85.57
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,011 2.91
บัตรเสีย 7,966 11.52
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 69,154 65.76
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 105,160 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

เขตเลือกตั้งที่ 7[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอแม่วงก์ อำเภอลาดยาว (ยกเว้นตำบลเนินขี้เหล็ก ตำบลหนองนมวัว และตำบลบ้านไร่) กิ่งอำเภอชุมตาบง และกิ่งอำเภอแม่เปิน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย นิโรธ สุนทรเลขา (9) 22,073 36.58
ชาติพัฒนา ประสาท ตันประเสริฐ (21)* 12,675 21.01
ไทยรักไทย สวัสดิ์ คำประกอบ (7)✔ 10,900 18.06
ประชาธิปัตย์ สำรอง เยี่ยงยง (16) 8,396 13.91
เสรีธรรม เสรี มูลมณี (15) 2,955 4.90
ความหวังใหม่ ชุติมา พรหมมารักษ์ (5) 1,840 3.05
ราษฎร พันโท รังสรร เทพลิบ (13) 964 1.60
ถิ่นไทย สวัสดิ์ มานิตย์ (11) 538 0.89
ผลรวม 60,341 100.00
บัตรดี 60,341 85.37
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,402 1.98
บัตรเสีย 8,938 12.65
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 70,681 60.44
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,947 100.00
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)