พ.ศ. 2490
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1947)
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2490 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1947 MCMXLVII |
Ab urbe condita | 2700 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1396 ԹՎ ՌՅՂԶ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6697 |
ปฏิทินบาไฮ | 103–104 |
ปฏิทินเบงกอล | 1354 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2897 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 11 Geo. 6 – 12 Geo. 6 |
พุทธศักราช | 2491 |
ปฏิทินพม่า | 1309 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7455–7456 |
ปฏิทินจีน | 丙戌年 (จอธาตุไฟ) 4643 หรือ 4583 — ถึง — 丁亥年 (กุนธาตุไฟ) 4644 หรือ 4584 |
ปฏิทินคอปติก | 1663–1664 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3113 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1939–1940 |
ปฏิทินฮีบรู | 5707–5708 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2003–2004 |
- ศกสมวัต | 1869–1870 |
- กลียุค | 5048–5049 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11947 |
ปฏิทินอิกโบ | 947–948 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1325–1326 |
ปฏิทินอิสลาม | 1366–1367 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 22 (昭和22年) |
ปฏิทินจูเช | 36 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4280 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 36 民國36年 |
พุทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีกุน นพศก จุลศักราช 1309 (วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ผู้นำประเทศไทย
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี:
เหตุการณ์
[แก้]- 12 กุมภาพันธ์ - ตัวแทนพม่า ไทใหญ่ ชีน และกะชีน ลงนามในความตกลงปางหลวงเพื่อรวมตัวเป็นสหภาพ แต่ละกลุ่มสามารถแยกตัวเป็นอิสระหลังจากรวมตัวกันครบ 10 ปี
- 1 เมษายน - ผู้นำชาวไทยเชื้อสายมลายูประชุมกันที่ จ.ปัตตานี และเสนอคำขอ 7 ข้อ ต่อรัฐบาล
- 4 มิถุนายน - วันจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- 14 สิงหาคม - ประเทศปากีสถาน ประกาศเอกราช
- 18 กันยายน - วันก่อตั้งโรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย
- 8 พฤศจิกายน - รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 : พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ ยึดอำนาจรัฐบาล พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี
- 20 พฤศจิกายน - สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายฟิลิปปอสแห่งกรีซและเดนมาร์ก ต่อมาได้รับการสถาปนาหลังจากเจ้าฟ้าหญิงเอลิซาเบธ ขึ้นครองราชย์ เป็น ดยุกแห่งเอดินบะระ และเปลี่ยนพระนามพร้อมพระอิสริยยศเป็น เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ
- 14 ธันวาคม - สนามซานเตียโก เบร์นาเบว เปิดใช้งานเป็นครั้งแรก
- 31 ธันวาคม - ทีมฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินาชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ ครั้งที่ 20 ณ เมืองกัวยากิล ประเทศเอกวาดอร์
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 1 มกราคม
- เฉลิม รงคผลิน นักเขียนชาวไทย
- ธงชัย ศุภสมุด นักมวยสากลชาวไทย
- ฟรานซิส ยิป นักร้องหญิงชาวฮ่องกง
- 8 มกราคม
- เดวิด โบอี นักร้อง นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ นักแสดง นักดนตรี โปรดิวเซอร์เพลง และผู้เรียบเรียงเพลงชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 10 มกราคม พ.ศ. 2559)
- สวัสดิ์ สืบสายพรหม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ
- 10 มกราคม - วัชระ ตันตรานนท์ อดีตสมาชิกวุฒิสภา แบบสรรหา นักธุรกิจเจ้าของโรงเรียนพาณิชยการลานนา
- 13 มกราคม - เอลิซาเบธ อานน์ เดอ เมสซี พระธิดาคนใหญ่ใน เจ้าหญิงอองตัวแนตแห่งโมนาโก (ถึงแก่กรรม 10 มิถุนายน พ.ศ. 2563)
- 15 มกราคม - ซอวิน (เจ้าชาย) นักการเมืองชาวพม่า
- 16 มกราคม
- ศิษฐวัชร วงษ์สุวรรณ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพเรือ
- อาภัสรา หงสกุล นางสาวไทย
- 20 มกราคม - กนก เหวียนระวี ภูมิสถาปนิก
- 22 มกราคม
- หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล
- ปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทย อดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทย อดีตปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไทย
- 23 มกราคม - เมกาวาตี ซูการ์โนบุตรี อดีตประธานาธิบดีอินโดนีเซีย
- 24 มกราคม - มิชิโอะ คะกุ นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน
- 25 มกราคม
- เจ้าชายเว็ลฟ์ แอนสท์ แห่งฮันโนเฟอร์ (ถึงแก่กรรม 10 มกราคม พ.ศ. 2524)
- สตัฟฟัน เด มิสตูรา นักการทูตอิตาลี-สวีเดน
- 29 มกราคม - มาเรียน วาร์ก้า นักดนตรี, นักประพันธ์เพลง และผู้เล่นออร์แกน (ถึงแก่กรรม 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560)
กุมภาพันธ์
[แก้]- กุมภาพันธ์ - โมฮัมหมัด นาญิบุลลอฮ์ นักการเมืองชาวอัฟกานิสถาน ประธานาธิบดีอัฟกานิสถาน (ถึงแก่กรรม 25 มิถุนายน พ.ศ. 2552)
- 2 กุมภาพันธ์ - ฟาร์ราห์ ฟอว์เซตต์ นักแสดงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 25 มิถุนายน พ.ศ. 2552)
- 4 กุมภาพันธ์ - แดน เควล รองประธานาธิบดีคนที่ 44 ของสหรัฐอเมริกา
- 8 กุมภาพันธ์ - อี้ จงเทียน นักเขียน, นักประวัติศาสตร์, นักปราชญ์ชาวจีน
- 11 กุมภาพันธ์ - ยุกิโอะ ฮะโตะยะมะ นายกรัฐมนตรีคนที่ 93 ของประเทศญี่ปุ่น
- 15 กุมภาพันธ์ - โชคสมาน สีลาวงษ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี
- 18 กุมภาพันธ์
- เจ้าหญิงคริสตินาแห่งเนเธอร์แลนด์
- ฉลาด ส่งเสริม ศิลปินแห่งชาติ หมอลำ
- 20 กุมภาพันธ์ - ประพันธ์ นัยโกวิท อดีตกรรมการการเลือกตั้ง สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย
- 24 กุมภาพันธ์
- เจิ้ง เส้าชิว นักแสดงชายและนักร้องชาวฮ่องกง
- เฟร์นันโด บาร์ราชีนา อดีตนักฟุตบอลชาวสเปน (ถึงแก่กรรม 4 มกราคม พ.ศ. 2559)
- 25 กุมภาพันธ์ - ไพรัช เพิ่มฉลาด อดีตสมาชิกวงคาราบาว (ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2549)
- 26 กุมภาพันธ์
- แซนดี ชอว์ นักร้องชาวอังกฤษ
- สมชัย จึงประเสริฐ อดีตกรรมการการเลือกตั้ง
มีนาคม
[แก้]- 2 มีนาคม - แฮร์รี เรดแนปป์ อดีตนักฟุตบอล ผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 3 มีนาคม - ชำนิ ศักดิเศรษฐ์ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
- 6 มีนาคม
- ร็อบ ไรเนอร์ นักแสดง ผู้กำกับ ดาราตลก และผู้สร้างภาพยนตร์ ชาวอเมริกัน
- อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี ประธานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตประธานกรรมการอิสลามประจำจังหวัดสงขลา
- 8 มีนาคม - โฟลเรนตีโน เปเรซ ประธานสโมสรของสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด
- 10 มีนาคม - คิม แคมป์เบล นักการเมืองนักการทูตนักกฎหมายและนักเขียนชาวแคนาดา
- 11 มีนาคม
- โกวิท วัฒนะ รองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
- บรูซ แกสตัน นักดนตรี นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 17 ตุลาคม พ.ศ. 2564)
- 12 มีนาคม - มิตต์ รอมนีย์ นักธุรกิจและนักการเมืองชาวอเมริกัน
- 13 มีนาคม - นำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
- 15 มีนาคม
- มะซะโอะ คะโต นักหมากล้อมชาวญี่ปุ่น
- หยาด นภาลัย นักร้องเพลงลูกกรุง (ถึงแก่กรรม 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553)
- 19 มีนาคม - เกลนน์ โคลส นักแสดงชาวอเมริกัน
- 20 มีนาคม
- เจ้าชายฮัสซัน บิน เฏาะลาล
- ประชา มาลีนนท์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ไทย
- อิทธิวัฒน์ เพียรเลิศ อดีตนักจัดรายการวิทยุ นักธุรกิจ วิศวกรชาวไทย (ถึงแก่กรรม 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560)
- 25 มีนาคม - เอลตัน จอห์น นักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง ชาวอังกฤษ
- 26 มีนาคม - คิม ยุน-อก อดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศเกาหลีใต้
- 29 มีนาคม - ถาวร เสนเนียม รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
- 31 มีนาคม - จันทรา คชหิรัญ นักร้องชาวไทย
เมษายน
[แก้]- 2 เมษายน - เลิศรัตน์ รัตนวานิช อดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา
- 5 เมษายน - กลอเรีย มาคาปากัล-อาร์โรโย นักการเมืองฟิลิปปินส์ ประธานาธิบดีคนที่ 14 ของฟิลิปปินส์
- 7 เมษายน - อิกกี ป็อป นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน
- 8 เมษายน - โรเบิร์ต คิโยซากิ นักธุรกิจและนักเขียนชาวอเมริกัน
- 10 เมษายน
- ชาญชัย สุนทรมัฏฐ์ อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย (ถึงแก่กรรม 2 ธันวาคม พ.ศ. 2555)
- สราวุธ ประทีปากรชัย ผู้รักษาประตูฟุตบอลทีมชาติไทย และสโมสรฟุตบอลธนาคารกรุงเทพ
- 12 เมษายน
- เดวิด เลตเทอร์แมน พิธีกรรายการโทรทัศน์ชาวอเมริกัน
- ทอม แคลนซี นักเขียนชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556)
- 13 เมษายน
- บุปผา สายชล นักร้องลูกทุ่งหญิงชาวไทย (ถึงแก่กรรม 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2533)
- สุรินทร์ เริงอารมณ์ อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด
- 14 เมษายน - คิม มย็อง-ซุก อดีตนักวอลเลย์บอลหญิงชาวเกาหลีเหนือ
- 15 เมษายน - ดีดี ลิน นางแบบ
- 17 เมษายน - โทะชิโอะ ฮิระโนะ นักวิทยาศาสตร์ด้านภูมิคุ้มกันชาวญี่ปุ่น
- 19 เมษายน - จัตุรนต์ คชสีห์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร
- 21 เมษายน - อิกกี ป็อป นักร้อง นักแต่งเพลง นักดนตรีชาวอเมริกัน
- 23 เมษายน - คริสเตอร์ เพตเตอรส์สัน อาชญากรชาวสวีเดน (ถึงแก่กรรม 29 กันยายน พ.ศ. 2547)
- 25 เมษายน - โยฮัน ครัฟฟ์ อดีตนักฟุตบอลทีมชาติเนเธอร์แลนด์ (ถึงแก่กรรม 24 มีนาคม พ.ศ. 2559)
- 26 เมษายน - ไพรเวศ วงศ์ธนบัตร อดีตนักร้องและนักดนตรีชาวไทย (ถึงแก่กรรม 16 กันยายน พ.ศ. 2556)
- 30 เมษายน - ชัชชัย พหลแพทย์ อดีตกองหลังทีมชาติไทย
พฤษภาคม
[แก้]- 2 พฤษภาคม - นิรุตติ์ ศิริจรรยา นักแสดงชาวไทย
- 4 พฤษภาคม - หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา โชติกเสถียร ท่านผู้หญิง
- 6 พฤษภาคม - อลัน เดล นักแสดงชาวนิวซีแลนด์
- 7 พฤษภาคม - อำนวย ปะติเส ที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม
- 15 พฤษภาคม
- มุฮ์ยิดดิน ยัซซิน นักการเมืองชาวมาเลเซีย
- สุกิจ ก้องธรนินทร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์
- 17 พฤษภาคม - ไพจิต ศรีวรขาน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครพนม พรรคเพื่อไทย
- 19 พฤษภาคม - เดวิด เฮลฟ์ก็อต นักเปียโนชาวออสเตรเลีย
- 23 พฤษภาคม - แอนน์ ฮุย ผู้กำกับภาพยนตร์หญิงชาวฮ่องกง
- 26 พฤษภาคม - เข็มรัตน์ กองสุข ศิลปินแห่งชาติ ศิลปินชาวไทย
- 27 พฤษภาคม - พ้อง ชีวานันท์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ถึงแก่กรรม 12 มีนาคม พ.ศ. 2559)
มิถุนายน
[แก้]- 1 มิถุนายน
- โจนาทาน ไพรซ์ นักแสดงชาวเวลส์
- วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดีกิตติคุณมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
- อุดมศิลป์ สอนบุตรนาค อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย
- 5 มิถุนายน - ประเสริฐ ภัทรมัย ผู้ก่อตั้งบริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด
- 9 มิถุนายน - ประกายเพชร สรหงส์ นักร้องหนุ่มเลือดสุพรรณบุรี ดินแดนจังหวัดนักร้องลูกทุ่ง
- 10 มิถุนายน
- เฉลิม อยู่บำรุง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตหัวหน้าพรรคมวลชน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย
- ยุริโกะ ฮิชิมิ นักแสดงหญิงและนักพากย์ชาวญี่ปุ่น
- 17 มิถุนายน - สเสฏฐสิฏฐ สิทธิมนต์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ (ถึงแก่กรรม 4 มกราคม พ.ศ. 2561)
- 19 มิถุนายน
- ซัลมัน รัชดี นักเขียนลูกครึ่งอินเดีย-อังกฤษ
- ยูน ยอ-จอง นักแสดงหญิงชาวเกาหลี
- 20 มิถุนายน - รีการ์ดู เตย์เชย์รา ประธานสมาคมฟุตบอลบราซิล
- 23 มิถุนายน - ฟรีดิ อัลแบรช์ท นักมวยปล้ำโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 และ โอลิมปิกฤดูร้อน 1976
- 29 มิถุนายน - เดวิด เจียง นักแสดงชาวฮ่องกง
กรกฎาคม
[แก้]- 1 กรกฎาคม - ปัญญา ถนอมรอด อดีตประธานศาลฎีกา คนที่ 37 อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ ผู้พิพากษา
- 6 กรกฎาคม - จรัล ดิษฐาอภิชัย อดีตกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- 7 กรกฎาคม
- สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเนปาล
- นิธิ สถาปิตานนท์ สถาปนิกชาวไทย ศิลปินแห่งชาติ
- 10 กรกฎาคม - อัศศิริ ธรรมโชติ นักเขียนชาวไทย ศิลปินแห่งชาติ
- 13 กรกฎาคม - บรรพต ต้นธีรวงศ์ แพทย์ชาวไทย
- 15 กรกฎาคม
- หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ไทย อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย
- รอบิยะห์ กอดีร์ นักธุรกิจหญิงชาวมุสลิมอุยกูร์
- 17 กรกฎาคม - สมเด็จพระราชินีคามิลลาแห่งสหราชอาณาจักร พระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร
- 19 กรกฎาคม - ไบรอัน เมย์ นักดนตรีชาวอังกฤษ
- 20 กรกฎาคม
- คาร์ลอส ซานตาน่า นักกีตาร์ นักดนตรีชาวอเมริกัน
- สมคิด นวลเปียน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง
- 22 กรกฎาคม
- ญาณี ตราโมท พิธีกรชาวไทย
- มูฮัมหมัด บิน ราชิด อัล มักทูม นายกรัฐมนตรีคนที่สาม และรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
- 24 กรกฎาคม - เจ้าหญิงซาร์วาธ อัล ฮัสซัน
- 26 กรกฎาคม - วาเลรี โวลคอฟ อดีตนักกีฬาขี่ม้าและแชมป์โอลิมปิกชาวโซเวียต
- 28 กรกฎาคม
- ทนง พิทยะ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ไทย
- ปีเตอร์ คอสโกรฟ ผู้สำเร็จราชการเครือรัฐออสเตรเลีย
- 30 กรกฎาคม
- อาร์โนลด์ ชวาร์เซเน็กเกอร์ นักแสดงชายชาวอเมริกัน
- เรียวเฮ ไซงัง นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น
สิงหาคม
[แก้]- 1 สิงหาคม - บุญชัย โชควัฒนา ประธานกรรมการบริษัท บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน)
- 3 สิงหาคม - ขวัญจิต ศรีประจันต์ ศิลปินแห่งชาติ ศิลปะพื้นบ้านภาคกลาง
- 5 สิงหาคม - วสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ
- 7 สิงหาคม
- โซเฟีย โรตารุ นักร้อง นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ นักกีตาร์ ชาวรัสเซีย
- โสภา สถาพร นักแสดงชาวไทย (ถึงแก่กรรม 28 มีนาคม พ.ศ. 2549)
- 8 สิงหาคม - ณรงค์เดช นันทโพธิ์เดช อดีตผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ (ถึงแก่กรรม 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2528)
- 9 สิงหาคม
- เยาวลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีไทย และอดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ (ถึงแก่กรรม 21 มีนาคม พ.ศ. 2552)
- รอย ฮอดจ์สัน อดีตนักฟุตบอล และเป็นอดีตหัวหน้าผู้ฝึกสอนทีมชาติอังกฤษ
- 10 สิงหาคม - อันวาร์ อิบราฮิม นักการเมืองมาเลเซีย
- 11 สิงหาคม - กรรณิกา ธรรมเกษร ผู้ประกาศข่าว นักแสดง และพิธีกรรายการโทรทัศน์
- 19 สิงหาคม - นิวัฒน์ ศรีสวัสดิ์ อดีตนักฟุตบอลชาวไทย
- 20 สิงหาคม - อลัน ลี ศิลปินนักวาดภาพและนักออกแบบศิลป์ชาวอังกฤษ
- 24 สิงหาคม - เปาลู กูเอลยู นักเขียนชาวบราซิล
- 27 สิงหาคม - วิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์ อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
- 28 สิงหาคม - วาง หมิงฉวน นักร้อง นักแสดง และพิธีกรหญิงชาวฮ่องกง
- 31 สิงหาคม - สมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย
กันยายน
[แก้]- 1 กันยายน - เจ้าชายปาทริก อาลี ปาห์ลาวี เจ้าชายแห่งอิหร่าน พระราชนัดดาในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี
- 3 กันยายน - เฌราร์ อูลีเย อดีตนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมชาวฝรั่งเศส (ถึงแก่กรรม 14 ธันวาคม พ.ศ. 2563)
- 4 กันยายน - อรัญญา นามวงศ์ นักแสดงชาวไทย
- 9 กันยายน - ศรายุทธ ชะนะกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยนาท (ถึงแก่กรรม 31 สิงหาคม พ.ศ. 2524)
- 10 กันยายน
- ประภัทร์ ศรลัมพ์ พิธีกรรายการโทรทัศน์ชาวไทย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- รองพล เจริญพันธุ์ นักกฎหมายชาวไทย อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (ถึงแก่กรรม 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2554)
- 13 กันยายน - อาณัติ รัตนพล อดีตนักวิ่งระยะสั้นชาวไทย
- 14 กันยายน - แซม นีล นักแสดงชาวนิวซีแลนด์
- 15 กันยายน
- จารุวรรณ ปัญโญภาส นักแสดงอาวุโส
- ทีโอดอร์ ลอง ผู้จัดการมวยปล้ำทั่วไปใน
- 16 กันยายน - อะเลคซันดร์ รุตสคอย นักการเมืองรัสเซียและอดีตนายทหารโซเวียต
- 18 กันยายน - วาสนา ชลากร นักแสดงหญิงชาวไทย
- 19 กันยายน - จอน อึ๊งภากรณ์ อดีตวุฒิสมาชิกกรุงเทพมหานคร
- 21 กันยายน - สตีเวน คิง นักเขียนนิยายเขย่าขวัญ ชาวอเมริกัน
- 25 กันยายน - หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย
- 26 กันยายน - รอง เค้ามูลคดี ศิลปินแห่งชาติ นักแสดงและนักพากย์ชาวไทย
- 27 กันยายน
- ดิก อัดโฟกาต ผู้จัดการฟุตบอลและอดีตนักฟุตบอลชาวดัตช์
- มีต โลฟ นักดนตรีร็อกชาวอเมริกันและนักแสดง
ตุลาคม
[แก้]- 3 ตุลาคม
- เคาน์เตสแอนน์ ดอร์ทีแห่งโรเซินบอร์ก (สิ้นพระชนม์ 2 มกราคม พ.ศ. 2557)
- ประเทือง ปานลักษณ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน (ถึงแก่กรรม 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547)
- 4 ตุลาคม - นิคม ไวยรัชพานิช ประธานวุฒิสภาไทย สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดฉะเชิงเทรา
- 8 ตุลาคม - ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดนครราชสีมา (ถึงแก่กรรม 11 มิถุนายน พ.ศ. 2563)
- 9 ตุลาคม
- ไพศาล พืชมงคล นักกฎหมายชาวไทย อดีตสมาชิกวุฒิสภาและอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- ระพิน ภูไท นักร้องลูกทุ่งชายชาวไทย (ถึงแก่กรรม 23 มีนาคม พ.ศ. 2524)
- 11 ตุลาคม - ลูกัส ปาปาดีโมส นักเศรษฐศาสตร์ชาวกรีก นายกรัฐมนตรีกรีซ
- 13 ตุลาคม - วิรัช ลิ้มวิชัย อดีตประธานศาลฎีกาและประธานศาลรัฐธรรมนูญ ผู้พิพากษา
- 16 ตุลาคม - เทร์รี กริฟฟิทส์ อดีตนักสนุกเกอร์อาชีพชาวเวลส์
- 19 ตุลาคม - วิบูลย์ ลี้สุวรรณ ศิลปินสาขาจิตรกรรม ศาสตราจารย์สาขาทัศนศิลป์
- 22 ตุลาคม
- สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย) สมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย
- ฟรานซิส ยิป นักร้องชาวฮ่องกง
- 24 ตุลาคม - เจ้าชายนิโคลัสแห่งลิกเตนสไตน์
- 26 ตุลาคม - ฮิลลารี คลินตัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ และอดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแห่งสหรัฐอเมริกา ภรรยาของอดีตประธานาธิบดีบิล คลินตัน
- 29 ตุลาคม - ริชาร์ด เดรย์ฟัส นักแสดงชาวอเมริกัน
พฤศจิกายน
[แก้]- พฤศจิกายน - พระจุลนายก (สุชาติ อภิชาโต) ภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย
- 1 พฤศจิกายน
- จิม สไตน์แมน นักดนตรี นักร้อง โปรดิวเซอร์เพลงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 19 เมษายน พ.ศ. 2564)
- สึเนกาซุ ทาเกดะ นักกีฬาชาวญี่ปุ่น
- 4 พฤศจิกายน - โทชิยูกิ นิชิดะ นักแสดงและนักร้องญี่ปุ่น
- 7 พฤศจิกายน - สนธิ ลิ้มทองกุล นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้ก่อตั้งและเจ้าของหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ
- 8 พฤศจิกายน - ไสยวิชญ์ วรวินิต อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- 12 พฤศจิกายน - วินัย พันธุรักษ์ นักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลงชาวไทย
- 14 พฤศจิกายน - ทองใส ทับถนน ศิลปินมรดกอีสาน
- 19 พฤศจิกายน - สุรินทร์ ปาลาเร่ เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสงขลา และอดีตกรรมการบริหารพรรคเพื่อแผ่นดิน
- 26 พฤศจิกายน - ทูรียา ฮันโนเฟอร์
- 27 พฤศจิกายน - ร็อบ บรูเนีย ผู้เล่นหมากรุกสากลชาวดัตช์ (ถึงแก่กรรม 9 มกราคม พ.ศ. 2548)
ธันวาคม
[แก้]- 1 ธันวาคม - ปฐมพงษ์ เกษรศุกร์ อดีตประธานที่ปรึกษากองบัญชาการกองทัพไทย พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
- 8 ธันวาคม - จิมมี ไหล่ นักธุรกิจและนักเคลื่อนไหวชาวฮ่องกง
- 17 ธันวาคม - จำลอง ครุฑขุนทด อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
- 18 ธันวาคม - อรชุมา ยุทธวงศ์ อดีตหัวหน้าภาควิชาศิลปะการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- 19 ธันวาคม - ปัญญา จินตะเวช อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี
- 22 ธันวาคม
- ต่อตระกูล ยมนาค นายกสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
- ฮิโรชิ นาไง (นักวาดภาพประกอบ) นักวาดภาพประกอบและนักออกแบบกราฟิกชาวญี่ปุ่น
- 23 ธันวาคม
- คว็อน ยัง-ซุก อดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศเกาหลีใต้
- สถิรพันธุ์ เกยานนท์ อดีตผู้บัญชาการทหารเรือของไทย
- 29 ธันวาคม
- โคซี พาวเวลล์ นักดนตรีชาวอังกฤษ
- มณฑล สงวนเสริมศรี อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยพะเยา
- 30 ธันวาคม
- กิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่
- เจฟฟ์ ลินน์ นักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง และโปรดิวเซอร์ชาวอังกฤษ
ไม่ทราบวัน
[แก้]- กาเหว่า เสียงทอง นักร้องลูกทุ่งชายชาวไทย
- คิม ย็อง-ซุก
- จุรี วิจิตรวาทการ อดีตอธิการบดีคนที่ 10 ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
- เซือง ทู เฮือง นักเขียนชาวเวียดนาม
- รี ชุน-อก อดีตนักวอลเลย์บอลหญิงชาวเกาหลีเหนือ
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 26 มกราคม
- 14 กุมภาพันธ์ - พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 (เกิด 29 มีนาคม พ.ศ. 2430)
- 10 มีนาคม - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ พระราชโอรสของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย (ประสูติ 28 เมษายน พ.ศ. 2406)
- 7 เมษายน - เฮนรี ฟอร์ด ผู้บุกเบิกยานยนต์ (เกิด 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2406)
- 17 สิงหาคม - เจ้าชายยูจีน ดยุกแห่งนาร์ก (ประสูติ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2408)
- 18 ตุลาคม - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (ประสูติ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2426)
- 28 ธันวาคม - พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี (พระราชสมภพ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2412)
- ??? - หลวงพ่อแช่ม อินฺทโชโต อดีตเจ้าอาวาสวัดตาก้อง (เกิด พ.ศ. 2405)
รางวัล
[แก้]- สาขาเคมี – Sir Robert Robinson
- สาขาวรรณกรรม – อังเดร ปอล กิลโยม ฌีด
- สาขาสันติภาพ – Quaker Peace and Social Witness, American Friends Service Committee
- สาขาฟิสิกส์ – Edward Victor Appleton
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – คาร์ล เฟอร์ดินานด์ คอรี, เกอร์ตี เทเรซา คอรี, เบรนาร์โด อัลเบรโต โอว์ซเซย์