ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 4996395 สร้างโดย 223.204.142.9 (พูดคุย)
บรรทัด 10: บรรทัด 10:


หลักสูตรปริญญาตรี 5 ปริญญาบัตร 21 สาขาวิชา ได้แก่
หลักสูตรปริญญาตรี 5 ปริญญาบัตร 21 สาขาวิชา ได้แก่
* หลักสูตรศิลปศาสตร์ ได้แก่ สาขาเอเชียอาคเนย์ศึกษา การศึกษาระหว่างประเทศ, การผลิตแอนิเมชั่นการผลิตภาพยนตร์ การผลิตรายการโทรทัศน์ และหลักสูตรใหม่ นิเทศศิลป์ (เปิดรับสมัครเดือนกรกฎาคม 2552)
* หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ได้แก่ สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ สาขาวิชาการผลิตแอนิเมชัน สาขาวิชาการผลิตภาพยนตร์ สาขาวิชาการผลิตสื่อโทรทัศน์ สาขาวิชาวัฒนธรรมนานาชาติศึกษาและภาษา และ สาขาวิชาสังคมศาสตร์
* หลักสูตรบริหารธุรกิจ ได้แก่ สาขาการบริหารอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ การเงิน ระบบสารสนเทศ ธุรกิจระหว่างประเทศ การตลาด และ เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
* หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต ได้แก่ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ สาขาวิชาการเงิน สาขาวิชาธุรกิจระหว่างประเทศ สาขาวิชาการตลาด และ สาขาวิชาการจัดการบริการนานาชาติ
* หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ได้แก่ สาขาคณิตศาสตร์ประยุกต์ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เคมี วิทยาการคอมพิวเตอร์ สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และฟิสิกส์
* หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ได้แก่ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาเคมี สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และ สาขาวิชาฟิสิกส์
* หลักสูตรพยาบาลศาสตร์ (อยู่ระหว่างการปรับปรุง)
* หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสื่อและการสื่อสาร
* หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
* หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์


หลักสูตรปริญญาโท 2 สาขาวิชา ได้แก่
หลักสูตรปริญญาโท 2 สาขาวิชา ได้แก่
* บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(การวิเคราะห์และการสร้างตัวแบบธุรกิจ)
* บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(การวิเคราะห์และการสร้างตัวแบบธุรกิจ)
* การจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ(หลักสูตรนานาชาติ)
* การจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ(หลักสูตรนานาชาติ)

*หมายเหตุ สาขาวิชาการผลิตแอนิเมชัน สาขาวิชาการผลิตภาพยนตร์ และ สาขาวิชาการผลิตสื่อโทรทัศน์ หยุดรับนักศึกษาชั่วคราวเนื่องจากอยู่ในระหว่างการพัฒนาหลักสูตร


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:33, 13 มกราคม 2559

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นวิทยาลัยนานาชาติของมหาวิทยาลัยรัฐแห่งแรกของประเทศไทย มีผู้จบการศึกษารุ่นแรกเมื่อปี พ.ศ. 2532 ในหลักสูตรบริหารอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและหลักสูตรสาขาวิชาเคมี

ประวัติ

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล มีประวัติความเป็นมาดังนี้ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2529 ตามมติของสภามหาวิทยาลัยมหิดล สมัยศาสตราจารย์ณัฐ ภมรประวัติ เป็นอธิการบดี อนุมัติโครงการการศึกษาปริญญาตรี สำหรับนักศึกษานานาชาติ หรือ International Students Degree Program – ISDP มีศาสตราจารย์สิรินทร์ พิบูลนิยม เป็นผู้อำนวยการคนแรกของโครงการ โครงการนี้เป็นหลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทย โดยในตอนแรกมี 2 สาขา คือ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และ สาขาวิชาเคมี เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2539 สภามหาวิทยาลัย สมัย ศ.อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้มีมติอนุมัติให้เปลี่ยนชื่อเป็น "วิทยาลัยนานาชาติ" และให้เป็นวิทยาลัยในกำกับมหาวิทยาลัยมหิดลดำรงฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งของมหาวิทยาลัยมหิดล และเป็นหน่วยงานนำร่องบริหารงานแบบนอกระบบราชการ มีการบริหารจัดการเป็นอิสระ และตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2540-2552 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ จริยา บรอคเคลแมน ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการเป็นผู้วางระบบการบริหารจัดการด้วยเงินรายได้ของวิทยาลัยฯ จัดการศึกษาแบบ Liberal Arts Education ที่เน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้รอบด้าน และในหลากหลายมิติทั้งวิทยาศาสตร์ ศิลปศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และบริหารธุรกิจ ช่วงนี้จึงเริ่มมีการเปิดสอนหลักสูตรหลากหลายมากขึ้น ให้นักศึกษาได้เรียนรู้รอบด้านหลากหลายมิติ อันเป็นพื้นฐานสำคัญในการผลิตบัณฑิตมีคุณภาพ รับใช้สังคม อุดมคุณธรรม วิทยาลัยฯ มีเครือข่ายการศึกษาใน 5 ทวีป ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา การวิจัย และจัดให้บริการวิชาการสู่สังคม จนทำให้วิทยาลัยฯ เป็นต้นแบบของการให้บริการทางวิชาการ และเป็นแบบอย่างของการพัฒนาการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติของประเทศไทยอย่างแท้จริง มีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ

หลักสูตร

        เปิดสอนทั้งหลักสูตรปริญญาตรี และปริญญาโท

หลักสูตรปริญญาตรี 5 ปริญญาบัตร 21 สาขาวิชา ได้แก่

  • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ได้แก่ สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ สาขาวิชาการผลิตแอนิเมชัน สาขาวิชาการผลิตภาพยนตร์ สาขาวิชาการผลิตสื่อโทรทัศน์ สาขาวิชาวัฒนธรรมนานาชาติศึกษาและภาษา และ สาขาวิชาสังคมศาสตร์
  • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต ได้แก่ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ สาขาวิชาการเงิน สาขาวิชาธุรกิจระหว่างประเทศ สาขาวิชาการตลาด และ สาขาวิชาการจัดการบริการนานาชาติ
  • หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ได้แก่ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาเคมี สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และ สาขาวิชาฟิสิกส์
  • หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสื่อและการสื่อสาร
  • หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

หลักสูตรปริญญาโท 2 สาขาวิชา ได้แก่

  • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(การวิเคราะห์และการสร้างตัวแบบธุรกิจ)
  • การจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ(หลักสูตรนานาชาติ)
  • หมายเหตุ สาขาวิชาการผลิตแอนิเมชัน สาขาวิชาการผลิตภาพยนตร์ และ สาขาวิชาการผลิตสื่อโทรทัศน์ หยุดรับนักศึกษาชั่วคราวเนื่องจากอยู่ในระหว่างการพัฒนาหลักสูตร

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น