รายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก สถานีรถไฟนาทา)
รายชื่อสถานีรถไฟในประเทศไทย
(ดำเนินการโดย รฟท.)
  ย่านชานเมือง
(กรุงเทพ - ชุมทางแก่งคอย/ลพบุรี)
  สายเหนือ
(ชุมทางบ้านภาชี - เชียงใหม่)
  สายตะวันออกเฉียงเหนือ
(ชุมทางบ้านภาชี - อุบลราชธานี/หนองคาย)
  สายใต้
(ชุมทางบางซื่อ/ธนบุรี - สุไหงโกลก)
  สายตะวันออก
(สามเหลี่ยมจิตรลดา - อรัญประเทศ/สัตหีบ)
  สายแม่กลอง
(วงเวียนใหญ่ - มหาชัย และบ้านแหลม - แม่กลอง)
ดู · แก้ไข · พูดคุย

รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นกลุ่มสถานีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีการเดินรถอย่างหนาแน่น ประกอบด้วยส่วนทับซ้อนจากเส้นทางสายต่าง ๆ โดยรายชื่อสถานี มีดังนี้[1]

หมายเหตุ: ที่หยุดรถ หมายถึง สถานีรถไฟที่ไม่มีอาคารสถานีและนายสถานีประจำ แต่อาจมีที่พักผู้โดยสารและที่ขายตั๋วแบบไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจถูกยุบเลิกหรือตั้งใหม่ได้ ที่หยุดรถบางที่อาจไม่มีรถหยุดเลยแม้แต่รถธรรมดา สำหรับสถานีทุกแห่ง รถธรรมดาจะหยุดทุกสถานี

รถเร็ว จะหยุดเป็นบางสถานี รถด่วนและด่วนพิเศษ จะหยุดห่างขึ้นตามศักดิ์ของขบวน

รายชื่อสถานีรถไฟ[แก้]

ส่วนที่ใช้ร่วมกับเส้นทางสายเหนือ กรุงเทพอภิวัฒน์ - ชุมทางบ้านภาชี (กภ.-ภช.)[แก้]

ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ ชื่อภาษาอังกฤษ เลขรหัส ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี ตัวย่อ อาณัติสัญญาณ ระบบบังคับประแจ ที่ตั้ง หมายเหตุ
ตำบล อำเภอ จังหวัด
กรุงเทพอภิวัฒน์ - ชุมทางบ้านภาชี
กลางกรุงเทพอภิวัฒน์ Krung Thep Aphiwat Central 1000 7.833 กม. พิเศษ กภ. ไฟสีสองท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ (ETCS) บางซื่อ บางซื่อ กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือที่สถานีนี้ ที่ชานชาลาหมายเลข 1 และ 2
ดอนเมือง Don Mueang 1017 22.21 กม. 1 ดม. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ (ETCS) สนามบิน ดอนเมือง เมื่อออกจากสถานีกลางกรุงเทพฯ รถไฟจะวิ่งบนทางรถไฟฟ้า  สายธานีรัถยา  โดยไม่จอดรับผู้โดยสารรายทาง ผู้โดยสารที่ต้องการเดินทางไปยังสถานีรายทางต้องเปลี่ยนไปใช้  สายธานีรัถยา  แทน
รังสิต Rangsit 1021 29.75 กม. 1 รต. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ บางพูน เมืองปทุมธานี ปทุมธานี เข้าเขตจังหวัดปทุมธานี, เริ่มเขตทางสาม รังสิต-บ้านภาชี, ตัวสถานีเดิมตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกในเขตตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี หลังจากสร้างสถานีรถไฟฟ้ารังสิตในเส้นทางรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม สถานีมีพื้นที่ครอบคลุมในเขตตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี[2] และตำบลบางพูน อำเภอเมืองปทุมธานี[3] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือเป็นเส้นแบ่งเขต
ประชาธิปัตย์ ธัญบุรี
คลองหนึ่ง Khlong Nueng 1223 33.84 กม. ป้ายหยุดรถ ลห. - - คลองหนึ่ง คลองหลวง
เชียงราก Chiang Rak 1022 37.47 กม. 2 ชร. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University 1230 40.19 กม. ที่หยุดรถ ธส. - -
นวนคร Nava Nakhon 1023 44.12 กม. ที่หยุดรถ วะ. - -
เชียงรากน้อย Chiang Rak Noi 1024 46.01 กม. 2 ชน. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ เชียงรากน้อย บางปะอิน พระนครศรีอยุธยา เข้าเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
คลองพุทรา Khlong Phutsa 1026 51.88 กม. 3 พซ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ บางกระสั้น
บางปะอิน Bang Pa-In 1028 58.00 กม. 1 บอ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ บางเลน
บ้านโพ Ban Pho 1029 62.75 กม. 3 บพ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ บ้านโพ
อยุธยา Ayutthaya 1031 71.08 กม. 1 อย. ไฟสีสามท่า มีสัญญาณตัวแทน ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ กะมัง พระนครศรีอยุธยา ในอดีตเคยมีขบวนรถพิเศษรถจักรไอน้ำของทุกวันสำคัญที่จะมาถึงสถานีแห่งนี้ ในภายหลัง การรถไฟฯ ได้ย้ายเส้นทางขบวนรถจักรไอน้ำ 2 เส้นทางในวันสำคัญคือ วันแม่แห่งชาติ (นครปฐม) และ วันพ่อแห่งชาติ (ชุมทางฉะเชิงเทรา) ดังนั้น ขบวนรถจักรไอน้ำที่จะมาถึงสถานีแห่งนี้ คือวันสถาปนากิจการรถไฟ, วันเฉลิมพระชนมพรรษาของ สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี, วันเฉลิมพระชนมพรรษาของ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และวันปิยมหาราช ต่อมาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2529 การรถไฟฯ เคยมีขบวนรถจักรไอน้ำ C56 ทำขบวนไปที่สถานีแห่งนี้ ก่อนที่จะมีงานสัปดาห์สะพานข้ามแม่น้ำแควในปัจจุบัน, เขตตำบลกะมัง และตำบลคลองสวนพลู ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือแบ่งเขต สถานีตั้งอยู่ในเขตตำบลกะมัง[4] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลคลองสวนพลู
บ้านม้า Ban Ma 1032 74.69 กม. 3 มา. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ บ้านเกาะ
มาบพระจันทร์ Map Phra Chan 1033 78.98 กม. 3 บจ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ หนองปลิง นครหลวง ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านมาบพระจันทร์ ตำบลหนองปลิง[5][6] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือ แบ่งเขตกับตำบลข้าวเม่า อำเภออุทัย โดยพื้นที่บริเวณรางหลีก (เดิม) อยู่ในเขตตำบลข้าวเม่า อำเภออุทัย
บ้านดอนกลาง Ban Don Klang 1034 82.31 กม. ป้ายหยุดรถ ลก. - - ตัวที่หยุดรถตั้งอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านดอนกลาง ตำบลหนองปลิง[5][7] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายเหนือ แบ่งเขตกับตำบลข้าวเม่า อำเภออุทัย โดยพื้นที่บริเวณชานชลาที่ 2 และป้ายที่หยุดรถ อยู่ในเขตตำบลข้าวเม่า อำเภออุทัย
ข้าวเม่า อุทัย
พระแก้ว Phra Kaeo 1035 85.44 กม. 3 พก. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ กระจิว ภาชี
ชุมทางบ้านภาชี Ban Phachi Junction 1036 89.95 กม. 1 ภช. ไฟสีสามท่า มีสัญญาณตัวแทน ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ ภาชี แยกกับทางรถไฟสายเหนือ และสุดเขตทางสาม ณ ที่นี่

สายอีสานตอนล่าง (ชุมทางบ้านภาชี–อุบลราชธานี)[แก้]

ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ ชื่อภาษาอังกฤษ เลขรหัส ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี ตัวย่อ อาณัติสัญญาณ ระบบบังคับประแจ จำนวนรางในย่านสถานี จำนวนชานชาลา ที่ตั้ง หมายเหตุ
ตำบล อำเภอ จังหวัด
ชุมทางบ้านภาชี - อุบลราชธานี
ชุมทางบ้านภาชี Ban Phachi Junction 1036 89.95 กม. 1 ภช. ไฟสีสามท่า มีสัญญาณตัวแทน ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 18 8 ภาชี ภาชี พระนครศรีอยุธยา สุดเขตทางสาม เริ่มทางคู่
หนองกวย Nong Kuai 2001 94.62 กม. 3 นก. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 3 3 ดอนหญ้านาง เริ่มเขตทางคู่
หนองแซง Nong Saeng 2002 98.04 กม. 2 นซ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 3 4 หนองแซง หนองแซง สระบุรี เข้าเขตจังหวัดสระบุรี
หนองสีดา Nong Sida 2003 103.34 กม. 3 นด. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 3 4 หนองสีดา
บ้านป๊อกแป๊ก Ban Pokpaek 2005 107.65 กม. 2 ปป. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 4 4 โคกสว่าง เมืองสระบุรี มีทางแยก หน่วยจ่ายน้ำมันทางรถไฟ บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด
สระบุรี Saraburi 2007 113.26 กม. 1 ะร. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 4 5 ปากเพรียว เดิมชื่อ สถานีปากเพรียว , เคยมีทางแยกบ่อย่อยศิลาเขาคูบา และเขาเทเลอร์
ชุมทางหนองบัว Nong Bua Junction 2009 119.24 กม. 3 นบ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 3 4 ตลิ่งชัน มีโรงงานทำหมอนรองรางรถไฟคอนกรีตของบริษัทไทยพีคอนและอุตสาหกรรม , มีทาง Chord line ที่เป็นทางแยกออกขวาไปเชื่อมกับสายชุมทางคลองสิบเก้า - ชุมทางแกงคอย ที่สถานีชุมทางบ้านไผ่นาบุญ
ชุมทางแก่งคอย Kaeng Khoi Junction 2011 125.10 กม. 1 กค. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 9 + 6 รางสินค้า + 6 รางโรงรถจักร 5 แก่งคอย แก่งคอย มีทางแยกซ้ายไปทางตะวันออกเฉียงเหนือในเส้นทาง ชุมทางแก่งคอย - ลำนารายณ์ - ชุมทางบัวใหญ่ เชื่อมต่อกับเส้นทาง ชุมทางถนนจิระ - หนองคาย - ท่านาแล้ง ที่สถานีชุมทางบัวใหญ่ , มีทางรถไฟสาย ชุมทางคลองสิบเก้า - ชุมทางแก่งคอย ที่แยกจากเส้นทาง กรุงเทพฯ - ชุมทางฉะเชิงเทรา - ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก หรือสายตะวันออกเหนือที่สถานีชุมทางคลองสิบเก้ามาเชื่อมบรรจบที่สถานีแห่งนี้ด้วย , สุดเขตทางคู่ ในเส้นทางชุมทางแก่งคอย - ชุมทางบัวใหญ่ ณ สถานีนี่
มาบกะเบา Map Kabao 2082 134.30 กม. 2 มบ. ไฟสีสามท่า มีสัญญาณตัวแทน ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 8 3 ทับกวาง สุดเขตทางคู่ในเส้นทาง ชุมทางบ้านภาชี - นครราชสีมา - อุบลราชธานี , มีโรงปูนตั้งอยู่บริเวณใกล้ๆสถานี , เริ่มแนวก่อสร้างทางคู่ช่วงที่ 1 คือช่วง มาบกะเบา - คลองขนานจิตร
ผาเสด็จ Pha Sadet 2083 138.95 กม. 2 ผด. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 2 1
หินลับ Hin Lap 2084 144.29 กม. 3 หล. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 7 1 มวกเหล็ก มวกเหล็ก มีทางแยกซ้ายเที่ยวล่องเข้าโรงงานปูนซีเมนต์ TPI
มวกเหล็ก(แห่งใหม่) Muak Lek (New place) - 148.01 กม. - - ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ - - เป็นสถานีในอนาคต ใช้ทดแทนสถานีรถไฟมวกเหล็กแห่งเดิม หลังจากสร้างรถไฟทางคู่ช่วงมาบกะเบา - ชุมทางถนนจิระ , มีการก่อสร้างเป็นทางคู่ยกระดับข้ามเมืองไปยังสถานีรถไฟกลางดง
มวกเหล็ก Muak Lek 2086 152.30 กม. 1 มล. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 2 2 มิตรภาพ ในอนาคตเมื่อสถานีมวกเหล็กแห่งใหม่สร้างเสร็จพร้อมกับทางคู่ยกระดับ สถานีมวกเหล็กแห่งเดิมนี้จะถูกรื้อออก , ตำบลมิตรภาพและตำบลมวกเหล็กใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือเป็นแนวแบ่งเขต ตัวอาคารสถานีจึงตั้งอยู่ในเขตตำบลมิตรภาพ ส่วนด้านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลมวกเหล็ก
กลางดง Klang Dong 2088 160.03 กม. 2 าง. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 2 1 กลางดง ปากช่อง นครราชสีมา เข้าเขตจังหวัดนครราชสีมา, -เริ่มต้นแนวเส้นทางรถไฟความเร็วสูงไทย - จีน สายกรุงเทพฯ-หนองคาย ระยะที่ 1 ช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ช่วงที่ 1 กลางดง - ปางอโศก[8], ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 12 บ้านกลางดง ตำบลกลางดง[9]
ปางอโศก Pang Asok 2089 165.19 กม. 2 โศ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 2 1 สิ้นสุดแนวเส้นทางรถไฟความเร็วสูงไทย - จีน สายกรุงเทพฯ-หนองคาย ระยะที่ 1 ช่วงกรุงเทพฯ - นครราชสีมา ช่วงที่ 1 กลางดง - ปางอโศก[8]


** ปัจจุบันยกเลิกการใช้ทางหลีก เนื่องจากโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงมาบกะเบา - ชุมทางถนนจิระ **

บันไดม้า Bandai Ma 2091 173.64 กม. 2 ได. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 2 1 ปากช่อง
ปากช่อง Pak Chong 2093 179.93 กม. 1 ปช. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 8 2
ซับม่วง Sap Muang 2095 187.89 กม. 3 ซม. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 3 1 จันทึก
จันทึก Chanthuek 2096 195.50 กม. 3 จท. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 2 1
คลองขนานจิตร Khlong Khanan Chit 2097 202.20 กม. 3 ขจ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 2 1 เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2496[10] ตั้งอยู่ริมเขื่อนลำตะคอง ด้านตรงข้ามกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 , สิ้นสุดแนวก่อสร้างทางคู่ช่วง มาบกะเบา - คลองขนานจิตร , มีการสร้างสถานีแห่งใหม่บริเวณด้านหลังสถานีเดิม โดยสถานีเดิมจะถูกรื้อออกและแทนที่ด้วยทางคู่ใหม่ , มีการก่อสร้างอุโมงค์รถไฟแห่งที่ 3 ในโครงการก่อสร้างทางคู่ช่วง มาบกะเบา - ชุมทางถนนจิระ ระหว่าง คลองขนานจิตร - คลองไผ่ ความยาว 1.4 กม.
คลองไผ่ Khlong Phai 2100 206.21 กม. 3 คผ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 2 1 คลองไผ่ สีคิ้ว
ลาดบัวขาว Lat Bua Khao 2101 209.41 กม. 3 ลข. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 2 1 ลาดบัวขาว
บ้านใหม่สำโรง Ban Mai Samrong 2102 214.90 กม. 3 สำ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 2 1
หนองน้ำขุ่น Nong Nam Khun 2103 218.27 กม. 3 นข. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 2 1
สีคิ้ว Sikhiu 2105 223.79 กม. 2 สค. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 2 1 สีคิ้ว
โคกสะอาด Khok Sa-at 2106 228.99 กม. ที่หยุดรถ อา. 1 1 เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2497[11] และยุบเป็นที่หยุดรถเหมือนเดิมเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2563
สูงเนิน Sung Noen 2107 233.87 กม. 2 สน. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 3 1 สูงเนิน สูงเนิน
กุดจิก Kut Chik 2109 241.15 กม. 3 กจ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 3 1 กุดจิก
โคกกรวด Khok Kruat 2111 249.94 กม. 3 คก. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 2 1 โคกกรวด เมืองนครราชสีมา
ภูเขาลาด Phu Khao Lat 2113 257.44 กม. 3 ขล. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 3 1 บ้านใหม่
นครราชสีมา Nakhon Ratchasima 2114 263.65 กม. 1 รส. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-รีเลย์ 15 5 ในเมือง มีโรงรถจักรนครราชสีมาตั้งอยู่ , มีทางรถไฟแยกไปกองบัญชาการช่วยรบที่ 2 (บชร.2) ปัจจุบันยังใช้งานอยู่
ชุมทางถนนจิระ Thanon Chira Junction 2115 266.28 กม. 1 จร. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 6 5 มีทางแยกไปสายอีสานเหนือ ในเส้นทาง ชุมทางถนนจิระ - หนองคาย - ท่านาแล้ง และในระหว่างทางจะมีทางรถไฟสาย ชุมทางแก่งคอย - ลำนารายณ์ - ชุมทางบัวใหญ่ ที่แยกจากเส้นทาง ชุมทางบ้านภาชี - อุบลราชธานี ที่สถานีชุมทางแก่งคอยมาเชื่อมบรรจบที่สถานีชุมทางบัวใหญ่อีกด้วย , เป็นสถานีสุดท้ายในเส้นทาง ชุมทางบ้านภาชี - อุบลราชธานี หรือสายอีสานใต้ ที่ใช้สัญญาณไฟสีชนิดบังคับด้วยคอมพิวเตอร์ และไฟสีชนิดบังคับด้วยแผงสวิตช์ หลังจากนี้จะใช้สัญญาณชนิดหางปลา บังคับด้วยสายลวด
บ้านพะเนา Ban Phanao 2211 276.35 กม. 3 พเ. ป้ายเขตสถานี มือโยก 2 1 พะเนา
บ้านพระพุทธ Ban Phra Phut 2212 280.10 กม. ที่หยุดรถ ะท. 1 1 พระพุทธ เฉลิมพระเกียรติ
ท่าช้าง Tha Chang 2213 285.40 กม. 3 ชา. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 2 1 ท่าช้าง
หนองมโนรมย์ Nong Manorom 2215 293.26 กม. 3 มโ. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 3 1 ทองหลาง จักราช
จักราช Chakkarat 2217 300.15 กม. 2 จช. หางปลา มีเฉพาะเข้าเขตใน มือโยก 3 1 จักราช
บ้านหินโคน Ban Hin Khon 2220 309.75 กม. 3 หโ. ป้ายเขตสถานี มือโยก 4 1 หินโคน
หินดาษ Hin Dat 2222 316.90 กม. 3 ดา. หางปลา มีเฉพาะเข้าเขตใน มือโยก 3 1 หินดาด ห้วยแถลง
ห้วยแถลง Huai Thalaeng 2224 325.65 กม. 2 ถล. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 3 1 ห้วยแถลง
หนองกระทิง Nong Krathing 2227 337.50 กม. 3 ทง. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 2 1 หนองกะทิง ลำปลายมาศ บุรีรัมย์ เข้าเขตจังหวัดบุรีรัมย์ , ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านหนองกะทิง ตำบลหนองกะทิง อำเภอลำปลายมาศ[12] โดยใช้ทางเกวียน (เดิม) แบ่งเขตกับตำบลกงรถ อำเภอห้วยแถลง โดยพื้นที่ฝั่งทางหลีกและหลังสถานีบางส่วนอยู่ในเขตตำบลกงรถ[13]
ลำปลายมาศ Lam Plai Mat 2229 345.70 กม. 1 ลำ. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 3 2 ลำปลายมาศ
ทะเมนชัย Thamen Chai 2231 354.85 กม. 2 มช. ป้ายเขตสถานี มือโยก 3 1 ทะเมนชัย
บ้านแสลงพัน Ban Salaeng Phan 2233 363.30 กม. 3 งพ. ป้ายเขตสถานี มือโยก 2 1 แสลงพัน เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2495[14]
บ้านหนองตาด Ban Nong Tat 2234 366.50 กม. 3 ตา. ป้ายเขตสถานี มือโยก 2 1 หนองตาด เมืองบุรีรัมย์
บุรีรัมย์ Buri Ram 2236 376.02 กม. 1 รย. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 3 2 ในเมือง มีทางรถไฟแยกไปลานหินเขากระโดง ปัจจุบันยังใช้งานอยู่
บ้านตะโก Ban Tako 2237 380.35 กม. ที่หยุดรถ ตโ. 1 1 บ้านยาง
ห้วยราช Huai Rat 2239 385.51 กม. 2 หร. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 3 1 ห้วยราชา ห้วยราช
กระสัง Krasang 2243 398.65 กม. 2 ะส. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 3 1 กระสัง กระสัง
หนองเต็ง Nong Teng 2244 405.50 กม. 3 เต. ป้ายเขตสถานี มือโยก 2 1 หนองเต็ง เดิมชื่อสถานีบ้านหนองเต็ง
ลำชี Lam Chi 2246 412.00 กม. 2 ลช. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 4 3 คอโค เมืองสุรินทร์ สุรินทร์ เข้าเขตจังหวัดสุรินทร์
สุรินทร์ Surin 2248 419.75 กม. 1 สร. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 4 2 ในเมือง
บุฤๅษี Bu Ruesi 2250 428.60 กม. 3 บุ. ป้ายเขตสถานี มือโยก 3 1 บุฤๅษี
เมืองที Muang Thi 2252 437.16 กม. 3 อท. ป้ายเขตสถานี มือโยก 2 1 เมืองที
กะโดนค้อ Kadon Kho 2254 445.50 กม. 3 ดค. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 2 1 ช่างปี่ ศีขรภูมิ
ศีขรภูมิ Sikhoraphum 2256 452.39 กม. 1 รภ. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 3 2 ระแงง
บ้านกะลัน Ban Kalan 2258 460.25 กม. 3 ลน. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 2 1 ยาง ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 15 บ้านกะลัน (ตลาด) ตำบลยาง[15] โดยใช้ทางเกวียน (เดิม) แบ่งเขตกับตำบลนารุ่ง โดยพื้นที่บริเวณสถานีทั้งหมดอยู่ในเขตตำบลยาง[16]
สำโรงทาบ Samrong Thap 2261 471.00 กม. 2 สบ. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 2 2 หนองไผ่ล้อม สำโรงทาบ ตัวสถานีอยู่ในเขตเทศบาลตำบลสำโรงทาบ[17] ซึ่งอยู่ในพื้นที่ของตำบลหนองไผ่ล้อม[18]
ห้วยทับทัน Huai Thap Than 2264 481.50 กม. 2 ทท. ป้ายเขตสถานี มือโยก 2 2 ห้วยทับทัน ห้วยทับทัน ศรีสะเกษ เข้าเขตจังหวัดศรีสะเกษ
หนองแคน Nong Khaen 2266 489.04 กม. ที่หยุดรถ หค. 1 1 หนองห้าง อุทุมพรพิสัย เคยเป็นสถานี ปัจจุบันลดระดับเป็นที่หยุดรถแล้ว
อุทุมพรพิสัย Uthomphon Phisai 2267 494.45 กม. 1 อุ. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 3 2 กำแพง
บ้านแต้ Ban Tae 2268 498.27 กม. ที่หยุดรถ แต. 1 1 แต้ เคยเป็นสถานี ปัจจุบันลดระดับเป็นที่หยุดรถแล้ว
บ้านเนียม Ban Niam 2270 504.00 กม. 3 นเ. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 2 1 ขะยูง
ศรีสะเกษ Si Sa Ket 2273 515.09 กม. 1 เก. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 3 2 เมืองใต้ เมืองศรีสะเกษ
เฉลิมกาญจนา Chaloem Kanchana 2276 522.28 กม. ที่หยุดรถ 1 1 โพธิ์
หนองแวง Nong Waeng 2277 527.19 กม. 3 อว. ป้ายเขตสถานี มือโยก 3 1 โพนเขวา
บ้านคล้อ Ban Khlo 2279 534.20 กม. 3 าค. ป้ายเขตสถานี มือโยก 2 1 ดู่ กันทรารมย์
กันทรารมย์ Kanthararom 2281 542.18 กม. 2 าร. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 2 2 ดูน
บ้านโนนผึ้ง Ban Non Phung 2283 546.86 กม. ที่หยุดรถ นผ. 1 1 โนนสัง
ห้วยขยุง Huai Khayung 2285 553.99 กม. 3 ขย. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 3 1 ห้วยขะยุง วารินชำราบ อุบลราชธานี เข้าเขตจังหวัดอุบลราชธานี
บ้านถ่อน Ban Thon 2286 557.70 กม. ที่หยุดรถ บถ. 1 1 ท่าลาด
บุ่งหวาย Bung Wai 2288 566.20 กม. 3 งห. ป้ายเขตสถานี มือโยก 2 1 บุ่งหวาย เคยมีทางแยกไปสถานีรถไฟบ้านโพธิ์มูล ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว
อุบลราชธานี Ubon Ratchathani 2290 575.10 กม. 1 อน. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 5 3 วารินชำราบ สุดทางรถไฟสายอีสานใต้ที่สถานีนี้ และเป็นต้นทาง/ปลายทางของขบวนรถปูนซีเมนต์ของบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) ที่ 527/528 ระหว่างสถานีรถไฟอุบลราชธานี - สถานีรถไฟหินลับ

สายอีสานตอนบน (ชุมทางถนนจิระ–หนองคาย)[แก้]

ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ ชื่อภาษาอังกฤษ เลขรหัส ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี ตัวย่อ อาณัติสัญญาณ ระบบบังคับประแจ จำนวนรางในย่านสถานี จำนวนชานชาลา ที่ตั้ง
ตำบล อำเภอ จังหวัด หมายเหตุ
ชุมทางถนนจิระ - หนองคาย - ท่านาแล้ง
ชุมทางถนนจิระ Thanon Chira Junction 2115 266.28 กม. 1 จร. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 6 5 ในเมือง เมืองนครราชสีมา นครราชสีมา เริ่มต้นทางคู่ ช่วงชุมทางถนนจิระ-ขอนแก่น
บ้านเกาะ Ban Ko 2117 272.50 กม. 3 กะ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 2 2 บ้านเกาะ เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2496[19]
บ้านกระโดน Ban Kradon 2120 284.67 กม. 3 กโ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 5 4 หนองไข่น้ำ เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2519[20] และยกฐานะเป็นสถานีเหมือนเดิม (ลำดับที่ 445) มี Container Yard (CY-ลานที่เก็บตู้คอนเทนเนอร์) และเป็นที่ตั้งโครงการท่าเรือบก (Dry Port)
บ้านหนองกันงา Ban Nong Kan Nga 2291 288.12 กม. ป้ายหยุดรถ ก้. 2 1
หนองแมว Nong Maeo 2121 289.79 กม. 3 นง. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 2 2 ด่านคล้า โนนสูง
โนนสูง Non Sung 2122 295.08 กม. 1 นโ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 4 4 โนนสูง
บ้านดงพลอง Ban Dong Phlong 2124 302.19 กม. 3 ดพ. ไฟสีสามท่า มีสัญญาณตัวแทน ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 2 2 หลุมข้าว
บ้านมะค่า Ban Makha 2126 308.20 กม. 3 มค. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 2 2 มะค่า
เนินถั่วแปบ Noen Thua Paep 2127 311.38 กม. ที่หยุดรถ ถป. 2 2 พลสงคราม
พลสงคราม Phon Songkhram 2128 315.65 กม. 3 พค. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 4 4
บ้านดอนใหญ่ Ban Don Yai 2129 320.35 กม. 3 ดญ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 2 2 ดอนใหญ่ คง เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2497[11]
เมืองคง Mueang Khong 2131 326.80 กม. 1 งค. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 4 4 เมืองคง
บ้านไร่ Ban Rai 2132 333.67 กม. ที่หยุดรถ นไ. 2 1 โนนทองหลาง บัวใหญ่
โนนทองหลาง Non Thong Lang 2133 335.71 กม. 3 นท. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 2 2 เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2496[19]
ห้วยระหัด Huai Rahat 2135 342.50 กม. ที่หยุดรถ ยร. 2 1 บัวใหญ่ เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2496[19] และยุบเป็นที่หยุดรถอีกครั้งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2515[21]
ชุมทางบัวใหญ่ Bua Yai Junction 2136 345.50 กม. 1 วญ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 8 5 เป็นย่านจุดพักเติมเชื้อเพลิง , มีทางรถไฟสาย ชุมทางแก่งคอย - ลำนารายณ์ - ชุมทางบัวใหญ่ ที่แยกจากเส้นทาง ชุมทางบ้านภาชี - นครราชสีมา - อุบลราชธานี มาเชื่อมบรรจบที่สถานีแห่งนี้ด้วย
เนินสวัสดิ์ Noen Sawat 2137 351.20 กม. ที่หยุดรถ เว. 2 2
หนองบัวลาย Nong Bua Lai 2139 357.36 กม. 3 งบ. ไฟสีสามท่า มีสัญญาณตัวแทน ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 4 2 บัวลาย บัวลาย
ศาลาดิน Sa La Din 2140 362.43 กม. ป้ายหยุดรถ ดิ. 2 1 โนนจาน
หนองมะเขือ Nong Makhuea 2142 370.04 กม. 3 งอ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 2 2 หนองมะเขือ พล ขอนแก่น เข้าเขตจังหวัดขอนแก่น, สถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ 1 บ้านหนองมะเขือ ตำบลหนองมะเขือ[22]
เมืองพล Muang Phon 2144 377.66 กม. 1 อล. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 4 5 เมืองพล
บ้านหัน Ban Han 2149 396.82 กม. 2 าห. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 5 5 บ้านหัน โนนศิลา ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านหัน ตำบลบ้านหัน[23] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ แบ่งเขต[24] โดยพื้นที่บริเวณรางหลีก (เดิม) อยู่ในเขตตำบลโนนศิลา
บ้านไผ่ Ban Phai 2152 407.72 กม. 1 บผ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 4 4 บ้านไผ่ บ้านไผ่ สถานีรถไฟชั้น 1 (พิเศษ) ยกระดับ
บ้านแฮด Ban Haet 2156 423.60 กม. 3 ฮด. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 4 4 บ้านแฮด บ้านแฮด
ท่าพระ Tha Phra 2160 439.81 กม. 3 พะ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 5 2 ท่าพระ เมืองขอนแก่น
ขอนแก่น Khon Kaen 2163 449.75 กม. 1 ขอ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 4 4 ในเมือง สถานีรถไฟชั้น 1 (พิเศษ) ยกระดับ , สิ้นสุดเขตทางคู่ช่วงชุมทางถนนจิระ-ขอนแก่น , สิ้นสุดการใช้อาณัติสัญญาณไฟสีที่สถานีนี้ , มีคลังน้ำมันด้านล่างสถานี
สำราญ Samran 2166 460.71 กม. 2 าญ. ป้ายเขตสถานี มือโยก 3 1 ศิลา
โนนพยอม Non Phayom 2170 474.93 กม. 3 พอ. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 6 1 ม่วงหวาน น้ำพอง เป็นย่านแหล่งขนถ่ายตู้สินค้าคอนเทนเนอร์ที่สถานีแห่งนี้ และมีโครงการก่อสร้างท่าเรือบก
บ้านวังชัย Ban Wang Chai 2171 480.45 กม. ที่หยุดรถ วช. 1 1 วังชัย
น้ำพอง Nam Phong 2172 484.21 กม. 2 อง. ไฟสีสามท่า สายลวด 3 1
ห้วยเสียว Huai Siao 2174 489.95 กม. 3 ยว. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 2 1 น้ำพอง
เขาสวนกวาง Khao Suan Kwang 2177 500.51 กม. 3 สง. ไฟสีสามท่า สายลวด 3 1 คำม่วง เขาสวนกวาง
โนนสะอาด Non Sa-at 2181 514.45 กม. 3 โอ. ป้ายเขตสถานี มือโยก 2 1 โนนสะอาด โนนสะอาด อุดรธานี เข้าเขตจังหวัดอุดรธานี
ห้วยเกิ้ง Huai Koeng 2183 523.40 กม. 3 ยก. ป้ายเขตสถานี มือโยก 3 1 ห้วยเกิ้ง กุมภวาปี
กุมภวาปี Kumphawapi 2186 532.50 กม. 1 วป. ป้ายเขตสถานี มือโยก 2 1 พันดอน
ห้วยสามพาด Huai Sam Phat 2188 542.75 กม. 3 หพ. ป้ายเขตสถานี มือโยก 2 1 ห้วยสามพาด ประจักษ์ศิลปาคม
หนองตะไก้ Nong Takai 2190 550.65 กม. 3 งต. ไฟสีสามท่า สายลวด 5 1 หนองไผ่ เมืองอุดรธานี เป็นย่านแหล่งขนถ่ายตู้สินค้าคอนเทนเนอร์ที่สถานีแห่งนี้
คำกลิ้ง Kham Kling 2193 562.05 กม. ที่หยุดรถ ลค. 1 1 หนองขอนกว้าง เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2528[25]
หนองขอนกว้าง Nong Khon Kwang 2194 565.40 กม. 3 ออ. หางปลา มีเฉพาะเสาเข้าเขตใน มือโยก 4 1 เดิมเป็นที่หยุดรถ ยกฐานะเป็นสถานีในวันที่ 1 ธันวาคม 2495[26] ตั้งอยู่ในเขตค่ายทหาร , มีศูนย์จ่ายปูนซีเมนต์ TPI ที่สถานีแห่งนี้ และเป็นต้นทาง/ปลายทางของขบวนรถปูนซีเมนต์ของบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) ที่ 517/518 และ 519/520 ระหว่างสถานีรถไฟหนองขอนกว้าง- สถานีรถไฟหินลับ
อุดรธานี Udon Thani 2195 568.84 กม. 1 รด. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 6 3 หมากแข้ง
นาพู่ Na Phu 2200 593.00 กม. 3 ภู. ป้ายเขตสถานี มือโยก 2 1 นาพู่ เพ็ญ เคยถูกยกเลิก แต่ฟื้นฟูมาเป็นสถานีเหมือนเดิม
นาทา Na Tha 2207 617.84 กม. 3 ยน. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 5 3 หนองกอมเกาะ เมืองหนองคาย หนองคาย เดิมเป็นที่ตั้งของสถานี "หนองคาย" ได้แปรสภาพเป็นสถานี "นาทา"[27] ในวันที่ 10 มกราคม 2501เนื่องจากสถานีหนองคายได้ย้ายไปตั้งที่ กม. 624 แทน
หนองคาย Nong Khai 2208 621.10 กม. 1 นค. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-เครื่องกลสายลวด 4 3 มีชัย สุดทางรถไฟสายอีสานเหนือที่สถานีนี้ และเป็นสถานีรถไฟสุดท้ายในเขตประเทศไทย ก่อนเข้าสู่เขตประเทศลาวที่สถานีรถไฟท่านาแล้ง , มือคันกลับประแจแบบประแจกลสายลวด-สัญญาณไฟสี แต่ไม่มีลวดโยงนอกสถานี , มีทางแยกไปตลาดหนองคาย ซึ่งปัจจุบันถูกยกเลิกใช้งานแล้ว
สะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 1 ชายแดนไทย-ลาว กม. 623+756.00
ท่านาแล้ง Thanaleng 7201 627.25 กม. 2 ลล. ป้ายเขตสถานี มือโยก 5 3 บ้านดงโพสี หาดทรายฟอง นครหลวงเวียงจันทน์ สถานีรถไฟแรกของ สปป.ลาว
คำสะหวาด(รอเปิดบริการ) ຄຳສະຫວັນ

Khamsawat

635.06 กม. 1 ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 4 4 บ้านคำสะหวาด ไชยเชษฐา สิ้นสุดรถไฟไทย - ลาว

สายอีสานตอนกลาง ชุมทางแก่งคอย - ชุมทางบัวใหญ่ (กค.-วญ.)[แก้]

ทางช่วงนี้ไม่มีการใช้ห่วงตราทางสะดวก แต่ใช้เครื่องทางสะดวกสัมพันธ์สัญญาณประจำที่แทน

ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ ชื่อภาษาอังกฤษ เลขรหัส ระยะทางจาก กท. ชั้นสถานี ตัวย่อ อาณัติสัญญาณ ระบบบังคับประแจ จำนวนรางในย่านสถานี จำนวนชานชาลา ที่ตั้ง
ตำบล อำเภอ จังหวัด หมายเหตุ
ชุมทางแก่งคอย - ชุมทางบัวใหญ่
ชุมทางแก่งคอย Kaeng Khoi Junction 2011 125.10 กม. 1 กค. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 9 + 6 รางสินค้า + 6 รางโรงรถจักร 5 แก่งคอย แก่งคอย สระบุรี ตรงไปในเส้นทางเดิม คือ สายอีสานใต้ สุดเส้นทางที่สถานีอุบลราชธานี , มีทางรถไฟสาย ชุมทางคลองสิบเก้า - ชุมทางแก่งคอย ที่แยกจากเส้นทาง กรุงเทพฯ - ชุมทางฉะเชิงเทรา - ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก หรือสายตะวันออกเหนือที่สถานีชุมทางคลองสิบเก้ามาเชื่อมบรรจบที่สถานีแห่งนี้ด้วย
บ้านช่องใต้ Ban Chong Tai 2012 128.80 กม. 3 ชต. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 5 1 บ้านป่า
เขาคอก Khao Khok 2013 134.37 กม. ที่หยุดรถ ขก. 1 1 ท่าตูม เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2528[28]
เขาหินดาด Khao Hin Dat 2015 141.85 กม. ที่หยุดรถ ดด. 1 1 ท่าคล้อ เปิดเมื่อ 20 กันยายน 2502
หินซ้อน Hin Son 2017 147.90 กม. 3 หซ. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 4 2 หินซ้อน
เขาสูง Khao Sung 2018 152.30 กม. ที่หยุดรถ ขส. 1 1
แก่งเสือเต้น Kaeng Suea Ten 2020 159.65 กม. 3 แส. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 2 1 หนองบัว พัฒนานิคม ลพบุรี เข้าเขตจังหวัดลพบุรี
เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ Pa Sak Jolasid Dam 2301 162.38 กม. ที่หยุดรถ ขธ. 1 1 ลงที่นี่สามารถเดินเข้าไปที่เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ได้, ขบวนรถด่วนดีเซลรางที่ 75/76 (กรุงเทพ-หนองคาย-กรุงเทพ) จะหยุดรับส่งผู้โดยสารในวันเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการ, ช่วงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม จะมีขบวนรถนำเที่ยวเขื่อนป่าสักชลสิทธ์มาจอดที่นี่
บ้านหนองบัว Ban Nong Bua 2022 165.96 กม. ที่หยุดรถ าบ. 1 1
โคกสลุง Khok Salung 2024 176.55 กม. 2 คุ. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 2 1 โคกสลุง ตั้งอยู่ริมเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์, ช่วงเดือนพฤษจิกายน-มกราคม จะมีขบวนรถนำเที่ยวเขื่อนป่าสักชลสิทธ์มาจอดที่นี่
สุรนารายณ์ Suranarai 2026 185.80 กม. 3 ะน. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 2 1 ม่วงค่อม ชัยบาดาล เดิมชื่อว่า "สุระนารายณ์",ตั้งชื่อสถานีตามชื่อของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 205 สายบ้านหมี่–สามแยกสุรนารายณ์ (ถนนสุรนารายณ์) ซึ่งอยู่ห่างจากสถานีเพียง 0.94 กิโลเมตร และห่างจากแยกม่วงค่อม ในทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 สายสามแยกพุแค – เลย เพียง 2.9 กิโลเมตร
โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ Assumption Convent School 2028 193.93 กม. ที่หยุดรถ 1 1 ห้วยหิน
เขายายกะตา Khao Yai Ka Ta 2030 198.95 กม. ที่หยุดรถ เย. 1 1 ชัยนารายณ์ เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2519[20]
ตลาดลำนารายณ์ Talat Lam Narai 2032 207.38 กม. ที่หยุดรถ รน. 1 1
ลำนารายณ์ Lam Narai 2033 208.80 กม. 1 ลา. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 4 2
บ้านเกาะรัง Ban Ko Rang 2036 220.35 กม. ที่หยุดรถ รง. 1 1 เกาะรัง
แผ่นดินทอง Phaendin Thong 2038 226.45 กม. 3 แง. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 2 1 หนองยายโต๊ะ
บ้านจงโก Ban Chongko 2040 236.65 กม. ที่หยุดรถ จโ. 1 1 หนองรี ลำสนธิ
โคกคลี Khok Khli 2042 240.87 กม. 3 คี. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 2 + 3 รางสินค้า 1
เข้าอุโมงค์เขาพังเหย ยาว 230.60 เมตร กม.ที่ 248.80-249.03
ช่องสำราญ Chong Samran 2045 250.64 กม. 3 อช. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 3 1 วะตะแบก เทพสถิต ชัยภูมิ เข้าเขตจังหวัดชัยภูมิ
บ้านวะตะแบก (เทพสถิต) Ban Wa Tabaek (Thep Sa Thit) 2049 263.14 กม. 2 แบ. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 2 + 3 รางสินค้า 1
ห้วยยายจิ๋ว Huai Yai Chiu 2052 273.13 กม. 3 จย. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 2 1 ห้วยยายจิ๋ว
บ้านปากจาบ Ban Pak Chap 2054 279.97 กม. ที่หยุดรถ จบ. 1 1 โคกเพชรพัฒนา บำเหน็จณรงค์ เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2519[29]
บำเหน็จณรงค์ Bamnet Narong 2057 290.53 กม. 2 าจ. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 2 + 3 รางสินค้า 1 บ้านเพชร
บ้านกลอย Ban Kloi 2058 293.25 กม. ป้ายหยุดรถ ย้. 1 1
วังกะอาม Wang Ka-am 2059 297.30 กม. ที่หยุดรถ วอ. 1 1 บ้านตาล เปิดเป็นที่หยุดรถในวันที่ 1 ธันวาคม 2514

[30]

โนนคร้อ Non Khro 2060 302.10 กม. ที่หยุดรถ น้. 1 1 บ้านขาม จัตุรัส เป็นที่หยุดรถตั้งแต่แรก ต่อมาได้ยกขึ้นเป็นสถานี ปัจจุบันลดระดับเป็นที่หยุดรถเหมือนเดิม
จัตุรัส Chatturat 2062 310.19 กม. 1 จต. หางปลา สายลวด และมีประแจมือเข้ารางหลีกที่ 3 จำนวน 2 ตัว เข้ารางสินค้าที่ 4-6 จำนวน 3 ตัว 3 + 3 รางสินค้า 1 บ้านกอก ลงสถานีนี้สามารถเดินทางไปสู่ตัวเมืองชัยภูมิประมาณ 40 กิโลเมตร
หนองฉิม Nong Chim 2066 322.85 กม. 3 ฉม. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 2 1 หนองฉิม เนินสง่า
บ้านตาเนิน Ban Ta Noen 2068 330.15 กม. ที่หยุดรถ บต. 1 1 ตาเนิน
บ้านหนองขาม Ban Nong Kham 2069 334.05 กม. ที่หยุดรถ บ้. 1 1
บ้านเหลื่อม Ban Lueam 2072 341.18 กม. 2 นเ. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 2 1 วังโพธิ์ บ้านเหลื่อม นครราชสีมา เข้าเขตจังหวัดนครราชสีมา
บ้านโคกกระเบื้อง Ban Khok Krabuang 2073 346.16 กม. ที่หยุดรถ ะอ. 1 1 โคกกระเบื้อง
บ้านหนองปรือโป่ง Ban Nong Pru Pong 2075 351.83 กม. ที่หยุดรถ นป. 1 1
หนองพลวง Nong Phluang 2076 355.19 กม. 3 งว. หางปลา มีเสาครบถ้วน สายลวด 2 + 3 รางสินค้า 1 หนองบัวสะอาด บัวใหญ่
บ้านกระพี้ Ban Kraphi 2303 358.20 กม. ที่หยุดรถ พี. 1 1
บ้านเก่างิ้ว Ban Kao Ngiu 2077 360.17 กม. ป้ายหยุดรถ งิ. 1 1
บ้านสระครก Ban Sa Khrok 2078 362.14 กม. ที่หยุดรถ ะค. 1 1
บ้านโสกรัง Ban Sok Rang 2079 366.50 กม. ที่หยุดรถ บั. 1 1
ชุมทางบัวใหญ่ Bua Yai Junction 2136 375.90 กม. 1 วญ. ไฟสีสามท่า ไฟฟ้า-คอมพิวเตอร์ 8 5 บัวใหญ่ เป็นย่านจุดพักเติมเชื้อเพลิง , เชื่อมบรรจบกับเส้นทาง ชุมทางถนนจิระ - หนองคาย - ท่านาแล้ง หรือสายอีสานเหนือที่สถานีแห่งนี้ด้วย

กำหนดเวลาเดินรถสายตะวันออกเฉียงเหนือ[แก้]

เที่ยวขึ้น[แก้]

สถานี 339 21 135 409 311 111 7 201 3 209 211
ชานเมือง ด่วนพิเศษ เร็ว
ต้นทาง-ปลายทาง กท.-กค. กท.-อน. กท.-อน.
กรุงเทพ 04:20 04:40 07:00 08:30 09:25 10:50 11:20 12:55
ยมราช - - - - - - - -
จิตรลดา
โรงพยาบาลรามาธิบดี - - - - - - - 13:04
สามเสน 04:30 - 07:13 08:40 09:37 11:01 11:31 13:07
ประดิพัทธ์
ชุมทางบางซื่อ 04:35 - 07:21 08:48 09:46 11:11 11:40 13:16
นิคมรถไฟ กม.11 04:41 - 07:27 - 10:08 11:18 11:46 13:23
บางเขน 04:46 - 07:33 08:59 10:14 11:24 11:52 13:30
ทุ่งสองห้อง - - - - - - 11:55 -
หลักสี่ 04:53 - 07:41 09:06 10:22 11:31 12:01 13:37
การเคหะ กม.19 - - - - - - - -
ตลาดใหม่ดอนเมือง
ดอนเมือง 04:59 - 07:48 09:12 10:29 11:38 12:07 13:44
รังสิต 05:08 05:25 07:57 09:20 10:40 11:47 12:18 13:53
คลองหนึ่ง - - - - - - -
เชียงราก 05:15 08:05 - 10:48 - 12:26 -
ม.ธรรมศาสตร์ - - - 10.52 - 12:30 -
นวนคร - - - - - - -
เชียงรากน้อย 05:22 - - 10:59 - 12:37 -
คลองพุทรา 05:28 - - 11:06 - 12:44 -
บางปะอิน 05:35 08:24 - 11:13 - 12:50 14:18
บ้านโพ 05:40 - - 11:18 - 12:56 -
อยุธยา 05:48 06:00 08:37 09:47 11:27 12:15 13:04 14:31
บ้านม้า 05:54 06:04 - - - - 13:09 -
มาบพระจันทร์ 05:59 06:10 - - 11:36 - 13:15 -
บ้านดอนกลาง 06:04 06:14 - - - - - -
พระแก้ว 06:08 06:19 08:51 - 11:43 - 13:22 -
ชุมทางบ้านภาชี 06:15 06:26 08:58 - 11:51 - 13:29 14:53
หนองกวย 06:21 - - - - - 13:35 -
หนองแซง 06:25 06:35 09:05 - 11:58 - 13:39 15:00
หนองสีดา 06:29 06:39 - - - - 13:43 -
บ้านป๊อกแป๊ก 06:34 06:44 09:12 - 12:04 - 13:48 15:07
สระบุรี 06:41 06:50 09:19 - 12:11 - 13:55 15:14
ชุมทางหนองบัว 06:47 06:57 09:27 - 12:19 - 14:03 15:22
ชุมทางแก่งคอย 06:53 07:03 - - 12:25 - 14:09 -
มาบกะเบา 06:59 07:09 - - 12:32 - 14:16 -
ผาเสด็จ 06:00 07:05 07:15 09:42 10:28 12:39 12:59 14:23 15:37
หินลับ 06:04 - - 12:47 - 14:28 -
มวกเหล็ก 06:10 - - 12:54 - 14:41 15:49
กลางดง 06:17 - - 13:01 - 14:48 -
ปางอโศก 06:23 - - 13:06 - 14:54 -
บันไดม้า 06:29 10:05 - 13:13 - 15:00 16:04
ปากช่อง 06:39 - - - - 15:06 -
ซับม่วง 06:44 - - 13:32 - 15:12 16:13
จันทึก - - - - - - 16:17
คลองขนานจิตร 06:49 10:17 - 13:38 - 15:17 16:20
คลองไผ่ 06:53 - - - - 15:21 -
ลาดบัวขาว 06:58 10:23 - 13:45 - 15:26 16:33
บ้านใหม่สำโรง 07:05 - - - - - -
หนองน้ำขุ่น 07:09 - - - - 15:35 16:44
สีคิ้ว 07:14 10:35 - 14:06 - 15:40 16:50
โคกสะอาด 07:20 - - 14:15 - -
สูงเนิน 07:26 - - 14:22 - 17:10
กุดจิก 07:33 10:50 - 14:31 - 17:18
โคกกรวด 07:39 - - 14:38 - 17:24
ภูเขาลาด 07:47 - - 14:46 - 17:30
นครราชสีมา 07:57 - - 14:57 - 17:41
ชุมทางถนนจิระ 05:00 08:06 11:21 11:37 15:08 14:04 17:51
บ้านพะเนา 05:04 08:17 11:28 - 15:17 - 17:58
บ้านพระพุทธ 05:10 08:34 - - - - 18:07
ท่าช้าง 05:17 08:41 11:40 - 15:30 - 18:14
หนองมโนรมย์ 05:25 08:48 - - 15:42 - 18:22
จักราช 05:34 08:56 11:53 - 15:55 14:29 18:31
บ้านหินโคน 05:44 09:05 - - 16:08 - 18:41
หินดาษ 05:52 09:12 12:22 - 16:15 14:41 18:49
ห้วยแถลง 06:00 09:19 - - 16:22 - 18:56
หนองกระทิง 06:07 09:25 - - 16:29 - 19:04
ลำปลายมาศ 06:16 09:35 12:41 12:25 16:39 14:56 19:15
ทะเมนชัย 06:22 09:41 - - 16:45 -
บ้านแสลงพัน 06:29 09:55 12:53 - 16:53 -
บ้านหนองตาด 06:35 10:02 13:00 - 17:01 -
บุรีรัมย์ 06:42 10:09 13:07 12:45 17:08 15:24
บ้านตะโก 06:54 10:16 - - 17:16 -
ห้วยราช 07:02 10:24 13:21 - 17:24 -
กระสัง 07:07 10:32 - - 17:29 -
หนองเต็ง 07:15 10:41 - - 17:38 -
ลำชี 07:21 10:48 - - - -
สุรินทร์ 05:55 07:28 10:55 13:43 13:12 17:55 15:59
บุฤๅษี 05:59 07:33 - - -
เมืองที 06:05 07:39 - - -
กะโดนค้อ 06:11 07:44 - - -
ศีขรภูมิ 06:20 07:51 14:04 - -
บ้านกะลัน
สำโรงทาบ 06:38 08:07 - - -
ห้วยทับทัน
หนองแคน 06:53 08:25 14:39 - 16:50
อุทุมพรพิสัย 07:00 08:32 - - -
บ้านแต้ 07:05 08:36 14:51 - 17:01
บ้านเนียม 17:23
ศรีสะเกษ 17:46
เฉลิมกาญจนา 07:10 08:40 14:56 - 18:50
หนองแวง 07:18 08:48 15:05 - 18:56
บ้านคล้อ 07:26 08:56 - - -
กันทรารมย์ 07:34 09:04 15:21 14:22 19:07
บ้านโนนผึ้ง 07:40 09:09 15:27 14:30 19:15
ห้วยขยุง 09:20 - -
บ้านถ่อน 09:27 15:40 -
บุ่งหวาย 09:40 15:55 -
อุบลราชธานี 09:51 - -
บ้านช่องใต้ 09:57 16:14 -
เขาคอก 10:02 - -
เขาหินดาด 10:05 - -
หินซ้อน 10:12 16:30 15:23
เขาสูง 10:17 -
แก่งเสือเต้น 10:27 -
เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ 10:39 -
บ้านหนองบัว 10:49 15:56
โคกสลุง 11:09 -
สุรนารายณ์ 11:14 -
โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ 11:29 -
เขายายกะตา 11:43 -
ตลาดลำนารายณ์ 11:53 -
ลำนารายณ์ 12:02 -
บ้านเกาะรัง 12:11 -
แผ่นดินทอง 12:18 -
บ้านจงโก 12:27 -
โคกคลี 12:33 17:30
ช่องสำราญ 12:45 -
บ้านวะตะแบก (เทพสถิต) 12:52 -
ห้วยยายจิ๋ว 13:00 -
13:10 -
13:29 18:22
13:42 -
13:50 -
14:00 -
14:15 19:14
14:20 -
14:28 -
14:35 19:30

อ้างอิง[แก้]

  1. "รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถ สายตะวันออกเฉียงเหนือ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-10-26. สืบค้นเมื่อ 2009-10-26.
  2. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  3. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลบางพูน อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  4. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลกะมัง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  5. 5.0 5.1 "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองปลิง อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  6. "สถานที่สำคัญในองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปลิง อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : บ้านมาบพระจันทร์หมู่ที่ 1 และสถานีรถไฟมาบพระจันทร์". องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปลิง อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  7. "สถานที่สำคัญในองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปลิง อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : วัดดอนกลาง และสถานีรถไฟบ้านดอนกลาง". องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปลิง อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  8. 8.0 8.1 รถไฟความเร็วสูงไทย - จีน ช่วงที่ 1 (กลางดง - ปางอโศก) คืบหน้า 28% คาดว่าแล้วเสร็จตุลาคมนี้ - จส.100
  9. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลกลางดง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
  10. "คำสั่งยกที่หยุดรถคลองขนานจิตร เป็นสถานีทางสะดวก มีหลีกยาว 504.56 เมตร". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2496
  11. 11.0 11.1 "คำสั่งยกที่หยุดรถดอนใหญ่ และ โคกสะอาด เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2497
  12. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองกะทิง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
  13. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองนครราชสีมา อำเภอครบุรี อำเภอสูงเนิน อำเภอห้วยแถลง อำเภอคง อำเภอด่านขุนทด และอำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 88 (120 ง): 3100–3136. วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
  14. "คำสั่งยกที่หยุดรถบ้านแสลงพัน เป็นสถานีทางสะดวก มีหลีกยาว 501.10 เมตร". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2495
  15. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลยาง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
  16. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอศีขรภูมิ อำเภอปราสาท อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 98 (49 ง): 912–927. วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2524
  17. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลสำโรงทาบ อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 80 (35 ง): 1001–1002. วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2506
  18. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองไผ่ล้อม อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
  19. 19.0 19.1 19.2 "คำสั่งยกที่หยุดรถบ้านเกาะ กุดกว้าง ดงทองหลาง บ้านกระนวน ห้วยระหัด โจดหนองแก หนองเม็ก สายหนองคายฯ เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2496
  20. 20.0 20.1 "ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2519 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519
  21. "ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2516 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2515)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2515
  22. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองมะเขือ อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  23. "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลบ้านหัน อำเภอโนนศิลา จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
  24. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่กิ่งอำเภอโนนศิลา จังหวัดขอนแก่น" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 121 ง): 263–272. วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2541
  25. "ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ณ สมุดเลขรหัส แทนชื่อสถานีและที่หยุดรถ เริ่มใช้วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528
  26. "คำสั่งยกที่หยุดหนองขอนกว้าง เป็นสถานีทางสะดวก มีหลีกยาว 200 เมตร รางตันยาว 54 เมตร". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2495
  27. "คำสั่งเปิดที่หยุดรถหนองคาย ที่ กม. 624 พร้อมท่าแพขนานยนต์อย่างไม่เป็นทางการ ส่วนสถานีหนองคาย ให้แปรสภาพเป็น สถานีนาทา". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2501
  28. "ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ณ สมุดเลขรหัส แทนชื่อสถานีและที่หยุดรถ เริ่มใช้วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528
  29. "ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2520 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2519)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2519
  30. "ด้วยการรถไฟฯได้จัดสร้างที่หยุดรถขึ้นที่ กม.297/30 ระหว่างสถานีบำเหน็จณรงค์ กับสถานีโนนคร้อ ในทางสายลำนารายณ์ แต่ที่หยุดรถดังกล่าวยังไม่มีชื่อ จึงได้ตั้งชื่อที่หยุดรถที่สร้างขึ้นใหม่ตามที่กระทรวงมหาดไทยเห็นชอบ ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2514". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2508