รายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ
รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นกลุ่มสถานีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีการเดินรถอย่างหนาแน่น ประกอบด้วยส่วนทับซ้อนจากเส้นทางสายต่าง ๆ โดยรายชื่อสถานี มีดังนี้[1]
หมายเหตุ: ที่หยุดรถ หมายถึง สถานีรถไฟที่ไม่มีอาคารสถานีและนายสถานีประจำ แต่อาจมีที่พักผู้โดยสารและที่ขายตั๋วแบบไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจถูกยุบเลิกหรือตั้งใหม่ได้ ที่หยุดรถบางที่อาจไม่มีรถหยุดเลยแม้แต่รถธรรมดา สำหรับสถานีทุกแห่ง รถธรรมดาจะหยุดทุกสถานี
รถเร็ว จะหยุดเป็นบางสถานี รถด่วนและด่วนพิเศษ จะหยุดห่างขึ้นตามศักดิ์ของขบวน
รายชื่อสถานีรถไฟ
[แก้]ช่วงกรุงเทพ (หัวลำโพง)—ชุมทางบ้านภาชี (กท.—ภช.)
[แก้]ช่วงชุมทางบ้านภาชี—อุบลราชธานี (ภช.—อน.)
[แก้]ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ชุมทางบ้านภาชี - อุบลราชธานี | ||||||||
ชุมทางบ้านภาชี | 1036 | ภช. | 89.95 กม. | 1 | ภาชี | ภาชี | พระนครศรีอยุธยา |
สุดเขตทางสาม เริ่มทางคู่ |
หนองกวย | 2001 | นก. | 94.62 กม. | 3 | ดอนหญ้านาง |
เริ่มเขตทางคู่ | ||
หนองแซง | 2002 | นซ. | 98.04 กม. | 2 | หนองควายโซ | หนองแซง | สระบุรี | เขตตำบลหนองควายโซและตำบลหนองแซง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 7 บ้านตลาดหนองแซง ตำบลหนองควายโซ[2][3] ส่วนย่านทางหลีก (เดิม) อยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านหนองแก ตำบลหนองแซง เข้าเขตจังหวัดสระบุรี
|
หนองสีดา | 2003 | นด. | 103.34 กม. | 3 | หนองสีดา | |||
บ้านป๊อกแป๊ก | 2005 | ปป. | 107.65 กม. | 2 | โคกสว่าง | เมืองสระบุรี |
มีทางแยก หน่วยจ่ายน้ำมันทางรถไฟ บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด | |
สระบุรี | 2007 | ะร. | 113.26 กม. | 1 | ปากเพรียว | เดิมชื่อ สถานีปากเพรียว , เคยมีทางแยกบ่อย่อยศิลาเขาคูบา และเขาเทเลอร์
| ||
ชุมทางหนองบัว | 2009 | นบ. | 119.24 กม. | 3 | ตลิ่งชัน |
มีโรงงานทำหมอนรองรางรถไฟคอนกรีตของบริษัทไทยพีคอนและอุตสาหกรรม , มีทาง Chord line ที่เป็นทางแยกออกขวาไปเชื่อมกับสายชุมทางคลองสิบเก้า - ชุมทางแกงคอย ที่สถานีชุมทางบ้านไผ่นาบุญ | ||
ชุมทางแก่งคอย | 2011 | กค. | 125.10 กม. | 1 | แก่งคอย | แก่งคอย | มีทางแยกซ้ายไปทางตะวันออกเฉียงเหนือในเส้นทาง ชุมทางแก่งคอย - ลำนารายณ์ - ชุมทางบัวใหญ่ เชื่อมต่อกับเส้นทาง ชุมทางถนนจิระ - หนองคาย - ท่านาแล้ง ที่สถานีชุมทางบัวใหญ่ , มีทางรถไฟสาย ชุมทางคลองสิบเก้า - ชุมทางแก่งคอย ที่แยกจากเส้นทาง กรุงเทพฯ - ชุมทางฉะเชิงเทรา - ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก หรือสายตะวันออกเหนือที่สถานีชุมทางคลองสิบเก้ามาเชื่อมบรรจบที่สถานีแห่งนี้ด้วย , สุดเขตทางคู่ ในเส้นทางชุมทางแก่งคอย - ชุมทางบัวใหญ่ ณ สถานีนี่
| |
มาบกะเบา | 2082 | มบ. | 134.30 กม. | 2 | ทับกวาง |
มีโรงปูนตั้งอยู่บริเวณใกล้ๆสถานี | ||
เข้าอุโมงค์ผาเสด็จ ยาว 5,408.69 เมตร | ||||||||
ผาเสด็จ | 2083 | ผด. | 138.95 กม. | 2 | ทับกวาง | แก่งคอย | สระบุรี |
เฉพาะรถสินค้า เดิมมีแผนจะยกเลิกให้บริการรถโดยสารทุกขบวนตั้งแต่วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 หลังจากสร้างรถไฟทางคู่ช่วงมาบกะเบา - ชุมทางถนนจิระ ช่วงมาบกะเบา - คลองขนานจิตร แต่เนื่องจากปัญหาการเก็บรายละเอียดของอุโมงค์ผาเสด็จและอุโมงค์หินลับ จึงได้เลื่อนการยกเลิกออกไปเป็นเดือนกันยายน 2567[4] |
เข้าอุโมงค์หินลับ ยาวประมาณ 600 เมตร | ||||||||
หินลับ | 2084 | หล. | 144.29 กม. | 3 | มวกเหล็ก | มวกเหล็ก | สระบุรี |
เฉพาะรถสินค้า เดิมมีแผนยกเลิกให้บริการรถโดยสารทุกขบวนตั้งแต่วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 หลังจากสร้างรถไฟทางคู่ช่วงมาบกะเบา - ชุมทางถนนจิระ ช่วงมาบกะเบา -คลองขนานจิตร แต่เนื่องจากปัญหาการเก็บรายละเอียดของอุโมงค์ผาเสด็จและอุโมงค์หินลับ จึงได้เลื่อนการยกเลิกออกไปเป็นเดือนกันยายน 2567[4] |
มวกเหล็กใหม่ | - | - | 148.01 กม. | - |
เป็นสถานีในอนาคต ใช้ทดแทนสถานีรถไฟมวกเหล็กแห่งเดิม หลังจากสร้างรถไฟทางคู่ช่วงมาบกะเบา - ชุมทางถนนจิระ , มีการก่อสร้างเป็นทางคู่ยกระดับข้ามเมืองไปยังสถานีรถไฟกลางดง | |||
มวกเหล็ก | 2086 | มล. | 152.30 กม. | 1 | มิตรภาพ | ในอนาคตเมื่อสถานีมวกเหล็กแห่งใหม่สร้างเสร็จพร้อมกับทางคู่ยกระดับ สถานีมวกเหล็กแห่งเดิมนี้จะถูกรื้อออก, ตำบลมิตรภาพและตำบลมวกเหล็กใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือเป็นแนวแบ่งเขต ตัวอาคารสถานีจึงตั้งอยู่ในเขตตำบลมิตรภาพ ส่วนด้านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลมวกเหล็ก
| ||
กลางดง | 2088 | าง. | 160.03 กม. | 2 | กลางดง | ปากช่อง | นครราชสีมา | |
ปางอโศก | 2089 | โศ. | 165.19 กม. | 2 |
| |||
บันไดม้า | 2091 | ได. | 173.64 กม. | 2 | ปากช่อง | |||
ปากช่อง | 2093 | ปช. | 179.93 กม. | 1 |
| |||
ซับม่วง | 2095 | ซม. | 187.89 กม. | 3 | จันทึก | |||
จันทึก | 2096 | จท. | 195.50 กม. | 3 | ||||
คลองขนานจิตร | 2097 | ขจ. | 202.20 กม. | 3 |
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2496[6] ตั้งอยู่ริมเขื่อนลำตะคอง ด้านตรงข้ามกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2, สุดเขตทางคู่ในเส้นทาง ชุมทางบ้านภาชี - นครราชสีมา - อุบลราชธานี, มีการสร้างสถานีแห่งใหม่บริเวณด้านหลังสถานีเดิม โดยสถานีเดิมจะถูกรื้อออกและแทนที่ด้วยทางคู่ใหม่, มีการก่อสร้างอุโมงค์รถไฟแห่งที่ 3 ในโครงการก่อสร้างทางคู่ช่วง มาบกะเบา - ชุมทางถนนจิระ ระหว่างคลองขนานจิตร - คลองไผ่ ความยาว 1.4 กม. | |||
คลองไผ่ | 2100 | คผ. | 206.21 กม. | 3 | คลองไผ่ | สีคิ้ว | ||
ลาดบัวขาว | 2101 | ลข. | 209.41 กม. | 3 | ลาดบัวขาว | |||
บ้านใหม่สำโรง | 2102 | สำ. | 214.90 กม. | 3 | ||||
หนองน้ำขุ่น | 2103 | นข. | 218.27 กม. | 3 | ||||
สีคิ้ว | 2105 | สค. | 223.79 กม. | 2 | สีคิ้ว |
| ||
โคกสะอาด | 2106 | อา. | 228.99 กม. | ที่หยุดรถ |
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2497[7] และยุบเป็นที่หยุดรถเหมือนเดิมเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2563 | |||
สูงเนิน | 2107 | สน. | 233.87 กม. | 2 | สูงเนิน | สูงเนิน | ||
กุดจิก | 2109 | กจ. | 241.15 กม. | 3 | กุดจิก |
| ||
โคกกรวด | 2111 | คก. | 249.94 กม. | 3 | โคกกรวด | เมืองนครราชสีมา | ||
ภูเขาลาด | 2113 | ขล. | 257.44 กม. | 3 | บ้านใหม่ | |||
นครราชสีมา | 2114 | รส. | 263.65 กม. | 1 | ในเมือง | มีโรงรถจักรนครราชสีมาตั้งอยู่ , มีทางรถไฟแยกไปกองบัญชาการช่วยรบที่ 2 (บชร.2) ปัจจุบันยังใช้งานอยู่
| ||
ชุมทางถนนจิระ | 2115 | จร. | 266.28 กม. | 1 |
มีทางแยกไปสายอีสานเหนือ ในเส้นทาง ชุมทางถนนจิระ - หนองคาย - ท่านาแล้ง และในระหว่างทางจะมีทางรถไฟสาย ชุมทางแก่งคอย - ลำนารายณ์ - ชุมทางบัวใหญ่ ที่แยกจากเส้นทาง ชุมทางบ้านภาชี - อุบลราชธานี ที่สถานีชุมทางแก่งคอยมาเชื่อมบรรจบที่สถานีชุมทางบัวใหญ่อีกด้วย , เป็นสถานีสุดท้ายในเส้นทาง ชุมทางบ้านภาชี - อุบลราชธานี หรือสายอีสานใต้ ที่ใช้สัญญาณไฟสีชนิดบังคับด้วยคอมพิวเตอร์ และไฟสีชนิดบังคับด้วยแผงสวิตช์ หลังจากนี้จะใช้สัญญาณชนิดหางปลา บังคับด้วยสายลวด | |||
บ้านพะเนา | 2211 | พเ. | 276.35 กม. | 3 | พะเนา | |||
บ้านพระพุทธ | 2212 | าท. | 280.10 กม. | ที่หยุดรถ | พระพุทธ | เฉลิมพระเกียรติ |
เดิมเป็นที่หยุดรถชื่อ "บ้านพุทธ" และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2496[8] และยุบเป็นที่หยุดรถเหมือนเดิมในภายหลัง | |
ท่าช้าง | 2213 | ชา. | 285.40 กม. | 3 | ท่าช้าง | |||
หนองมโนรมย์ | 2215 | มโ. | 293.26 กม. | 3 | ทองหลาง | จักราช |
เขตตำบลทองหลาง อำเภอจักราชและตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 7 บ้านหนองมโนรมย์ ตำบลทองหลาง[9][10] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ | |
จักราช | 2217 | จช. | 300.15 กม. | 2 | จักราช |
| ||
บ้านหินโคน | 2220 | หโ. | 309.75 กม. | 3 | หินโคน | |||
หินดาษ | 2222 | ดา. | 316.90 กม. | 3 | หินดาด | ห้วยแถลง | ||
ห้วยแถลง | 2224 | ถล. | 325.65 กม. | 2 | ทับสวาย | เขตตำบลทับสวายและตำบลห้วยแถลง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 8 บ้านสุขสันต์ ตำบลทับสวาย[11][12] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลห้วยแถลง
| ||
หนองกระทิง | 2227 | ทง. | 337.50 กม. | 3 | หนองกะทิง | ลำปลายมาศ | บุรีรัมย์ |
เข้าเขตจังหวัดบุรีรัมย์ , ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านหนองกะทิง ตำบลหนองกะทิง อำเภอลำปลายมาศ[13] โดยใช้ทางเกวียน (เดิม) แบ่งเขตกับตำบลกงรถ อำเภอห้วยแถลง โดยพื้นที่หลังสถานีบางส่วนอยู่ในเขตตำบลกงรถ[14] |
ลำปลายมาศ | 2229 | ลำ. | 345.70 กม. | 1 | ลำปลายมาศ |
| ||
ทะเมนชัย | 2231 | มช. | 354.85 กม. | 2 | ทะเมนชัย | |||
บ้านแสลงพัน | 2233 | งพ. | 363.30 กม. | 3 | แสลงพัน |
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2495[15] | ||
บ้านหนองตาด | 2234 | ตา. | 366.50 กม. | 3 | หนองตาด | เมืองบุรีรัมย์ | ||
บุรีรัมย์ | 2236 | รย. | 376.02 กม. | 1 | ในเมือง | มีทางรถไฟแยกไปลานหินเขากระโดง ปัจจุบันยังใช้งานอยู่
| ||
บ้านตะโก | 2237 | ตโ. | 380.35 กม. | ที่หยุดรถ | บ้านยาง | |||
ห้วยราช | 2239 | หร. | 385.51 กม. | 2 | ห้วยราชา | ห้วยราช |
เขตตำบลห้วยราชาและตำบลห้วยราช ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 9 บ้านห้วยราชา ตำบลห้วยราชา[16][17] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลห้วยราช | |
กระสัง | 2243 | ะส. | 398.65 กม. | 2 | กระสัง | กระสัง | ||
หนองเต็ง | 2244 | เต. | 405.50 กม. | 3 | หนองเต็ง |
เดิมชื่อสถานีบ้านหนองเต็ง | ||
ลำชี | 2246 | ลช. | 412.00 กม. | 2 | คอโค | เมืองสุรินทร์ | สุรินทร์ |
เข้าเขตจังหวัดสุรินทร์ |
สุรินทร์ | 2248 | สร. | 419.75 กม. | 1 | ในเมือง |
| ||
บุฤๅษี | 2250 | บุ. | 428.60 กม. | 3 | บุฤๅษี | |||
เมืองที | 2252 | อท. | 437.16 กม. | 3 | เมืองที | |||
กะโดนค้อ | 2254 | ดค. | 445.50 กม. | 3 | ช่างปี่ | ศีขรภูมิ | ||
ศีขรภูมิ | 2256 | รภ. | 452.39 กม. | 1 | ระแงง |
| ||
บ้านกะลัน | 2258 | ลน. | 460.25 กม. | 3 | ยาง | |||
สำโรงทาบ | 2261 | สบ. | 471.00 กม. | 2 | หนองไผ่ล้อม | สำโรงทาบ | ตัวสถานีอยู่ในเขตเทศบาลตำบลสำโรงทาบ[20] ซึ่งอยู่ในพื้นที่ของตำบลหนองไผ่ล้อม[21]
| |
ห้วยทับทัน | 2264 | ทท. | 481.50 กม. | 2 | ห้วยทับทัน | ห้วยทับทัน | ศรีสะเกษ |
เข้าเขตจังหวัดศรีสะเกษ |
หนองแคน | 2266 | หค. | 489.04 กม. | ที่หยุดรถ | หนองห้าง | อุทุมพรพิสัย |
เคยเป็นสถานี ปัจจุบันลดระดับเป็นที่หยุดรถแล้ว | |
อุทุมพรพิสัย | 2267 | อุ. | 494.45 กม. | 1 | กำแพง | |||
บ้านแต้ | 2268 | แต. | 498.27 กม. | ที่หยุดรถ | แต้ |
เคยเป็นสถานี ปัจจุบันลดระดับเป็นที่หยุดรถแล้ว | ||
บ้านเนียม | 2270 | นเ. | 504.00 กม. | 3 | ขะยูง | |||
ศรีสะเกษ | 2273 | เก. | 515.09 กม. | 1 | เมืองเหนือ | เมืองศรีสะเกษ | เขตตำบลเมืองเหนือและตำบลเมืองใต้ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตตำบลเมืองเหนือ[22][23] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลเมืองใต้
| |
เฉลิมกาญจนา | 2276 | 522.28 กม. | ที่หยุดรถ | โพธิ์ | ||||
หนองแวง | 2277 | อว. | 527.19 กม. | 3 | โพนเขวา | |||
บ้านคล้อ | 2279 | าค. | 534.20 กม. | 3 | ดู่ | กันทรารมย์ | ||
กันทรารมย์ | 2281 | าร. | 542.18 กม. | 2 | ดูน |
| ||
บ้านโนนผึ้ง | 2283 | นผ. | 546.86 กม. | ที่หยุดรถ | โนนสัง | |||
ห้วยขยุง | 2285 | ขย. | 553.99 กม. | 3 | ห้วยขะยุง | วารินชำราบ | อุบลราชธานี |
เข้าเขตจังหวัดอุบลราชธานี |
บ้านถ่อน | 2286 | บถ. | 557.70 กม. | ที่หยุดรถ | ท่าลาด | |||
บุ่งหวาย | 2288 | งห. | 566.20 กม. | 3 | บุ่งหวาย |
เคยมีทางแยกไปสถานีรถไฟบ้านโพธิ์มูล ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว | ||
อุบลราชธานี | 2290 | อน. | 575.10 กม. | 1 | วารินชำราบ | สุดทางรถไฟสายอีสานใต้ที่สถานีนี้ และเป็นต้นทาง/ปลายทางของขบวนรถปูนซีเมนต์ของบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) ที่ 527/528 ระหว่างสถานีรถไฟอุบลราชธานี - สถานีรถไฟหินลับ
|
ชุมทางถนนจิระ—หนองคาย—คำสะหวาด (จร.—นค.—ลล.)
[แก้]ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ชุมทางถนนจิระ - หนองคาย - ท่านาแล้ง | ||||||||
ชุมทางถนนจิระ | 2115 | จร. | 266.28 กม. | 1 | ในเมือง | เมืองนครราชสีมา | นครราชสีมา |
เริ่มต้นทางคู่ ช่วงชุมทางถนนจิระ-ขอนแก่น |
บ้านเกาะ | 2117 | กะ. | 272.50 กม. | 3 | บ้านเกาะ |
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2496[24] | ||
บ้านกระโดน | 2120 | กโ. | 284.67 กม. | 3 | หนองไข่น้ำ |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2519[25] และยกฐานะเป็นสถานีเหมือนเดิม (ลำดับที่ 445) มี Container Yard (CY-ลานที่เก็บตู้คอนเทนเนอร์) และเป็นที่ตั้งโครงการท่าเรือบก (Dry Port) | ||
บ้านหนองกันงา | 2291 | ก้. | 288.12 กม. | ป้ายหยุดรถ | ด่านคล้า | โนนสูง | ||
หนองแมว | 2121 | นง. | 289.79 กม. | 3 | ||||
โนนสูง | 2122 | นโ. | 295.08 กม. | 1 | โนนสูง |
| ||
บ้านดงพลอง | 2124 | ดพ. | 302.19 กม. | 3 | หลุมข้าว | |||
บ้านมะค่า | 2126 | มค. | 308.20 กม. | 3 | มะค่า | |||
เนินถั่วแปบ | 2127 | ถป. | 311.38 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
พลสงคราม | 2128 | พค. | 315.65 กม. | 3 | พลสงคราม | |||
บ้านดอนใหญ่ | 2129 | ดญ. | 320.35 กม. | 3 | ดอนใหญ่ | คง |
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2497[7] | |
เมืองคง | 2131 | งค. | 326.80 กม. | 1 | เมืองคง |
| ||
บ้านไร่ | 2132 | นไ. | 333.67 กม. | ที่หยุดรถ | โนนทองหลาง | บัวใหญ่ | ||
โนนทองหลาง | 2133 | นท. | 335.71 กม. | 3 |
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2496[24] | |||
ห้วยระหัด | 2135 | ยร. | 342.50 กม. | ที่หยุดรถ | บัวใหญ่ | |||
ชุมทางบัวใหญ่ | 2136 | วญ. | 345.50 กม. | 1 | เป็นย่านจุดพักเติมเชื้อเพลิง , มีทางรถไฟสาย ชุมทางแก่งคอย - ลำนารายณ์ - ชุมทางบัวใหญ่ ที่แยกจากเส้นทาง ชุมทางบ้านภาชี - นครราชสีมา - อุบลราชธานี มาเชื่อมบรรจบที่สถานีแห่งนี้ด้วย
| |||
เนินสวัสดิ์ | 2137 | เว. | 351.20 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
หนองบัวลาย | 2139 | งบ. | 357.36 กม. | 3 | บัวลาย | บัวลาย | ||
ศาลาดิน | 2140 | ดิ. | 362.43 กม. | ป้ายหยุดรถ | โนนจาน | |||
หนองมะเขือ | 2142 | งอ. | 370.04 กม. | 3 | หนองมะเขือ | พล | ขอนแก่น | |
เมืองพล | 2144 | อล. | 377.66 กม. | 1 | เมืองพล |
| ||
บ้านหัน | 2149 | าห. | 396.82 กม. | 2 | บ้านหัน | โนนศิลา | ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านหัน ตำบลบ้านหัน[28] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ แบ่งเขต[29] โดยพื้นที่บริเวณรางหลีก (เดิม) อยู่ในเขตตำบลโนนศิลา
| |
บ้านไผ่ | 2152 | บผ. | 407.72 กม. | 1 | บ้านไผ่ | บ้านไผ่ | หลังจากสร้างสถานีรถไฟชั้น 1 (พิเศษ) ยกระดับสถานีรถไฟบ้านไผ่ในโครงการรถไฟทางคู่ช่วงชุมทางถนนจิระ-ขอนแก่น สถานีมีพื้นที่ครอบคลุมในเขตตำบลในเมือง (ฝั่งตะวันออก) และตำบลบ้านไผ่ (ฝั่งตะวันตก)[30][31]โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือเป็นเส้นแบ่งเขต, ในอนาคตจะมีรถไฟทางคู่สายบ้านไผ่ - นครพนมมาเชื่อมต่อที่สถานีแห่งนี้
| |
ในเมือง | ||||||||
บ้านแฮด | 2156 | ฮด. | 423.60 กม. | 3 | บ้านแฮด | บ้านแฮด | ||
ท่าพระ | 2160 | พะ. | 439.81 กม. | 3 | ท่าพระ | เมืองขอนแก่น | ||
ขอนแก่น | 2163 | ขอ. | 449.75 กม. | 1 | ในเมือง | สถานีรถไฟชั้น 1 (พิเศษ) ยกระดับ , สิ้นสุดเขตทางคู่ช่วงชุมทางถนนจิระ-ขอนแก่น , สิ้นสุดการใช้อาณัติสัญญาณไฟสีที่สถานีนี้ , มีคลังน้ำมันด้านล่างสถานี
| ||
สำราญ | 2166 | าญ. | 460.71 กม. | 2 | ศิลา | |||
โนนพยอม | 2170 | พอ. | 474.93 กม. | 3 | ม่วงหวาน | น้ำพอง | เป็นย่านแหล่งขนถ่ายตู้สินค้าคอนเทนเนอร์ที่สถานีแห่งนี้ และมีโครงการก่อสร้างท่าเรือบก
| |
บ้านวังชัย | 2171 | วช. | 480.45 กม. | ที่หยุดรถ | วังชัย | |||
น้ำพอง | 2172 | อง. | 484.21 กม. | 2 |
เขตตำบลวังชัยและตำบลหนองกุง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 11 บ้านประชานิมิตร ตำบลวังชัย[32][33] ส่วนย่านทางหลีก อยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านหนองกุง ตำบลหนองกุง
| |||
ห้วยเสียว | 2174 | ยว. | 489.95 กม. | 3 | น้ำพอง |
เขตตำบลน้ำพองและตำบลหนองกุง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 14 บ้านคำมืดใต้ ตำบลน้ำพอง[34][35] ส่วนย่านทางหลีก อยู่ในเขตหมู่ 5 บ้านนาเรียง ตำบลหนองกุง | ||
เขาสวนกวาง | 2177 | สง. | 500.51 กม. | 3 | เขาสวนกวาง | เขาสวนกวาง |
เขตตำบลเขาสวนกวางและตำบลคำม่วง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านศรีชมชื่น ตำบลเขาสวนกวาง[36][37] ส่วนย่านทางหลีก อยู่ในเขตตำบลคำม่วง | |
โนนสะอาด | 2181 | โอ. | 514.45 กม. | 3 | โนนสะอาด | โนนสะอาด | อุดรธานี | เข้าเขตจังหวัดอุดรธานี
|
ห้วยเกิ้ง | 2183 | ยก. | 523.40 กม. | 3 | ห้วยเกิ้ง | กุมภวาปี | ||
กุมภวาปี | 2186 | วป. | 532.50 กม. | 1 | พันดอน | |||
ห้วยสามพาด | 2188 | หพ. | 542.75 กม. | 3 | ห้วยสามพาด | ประจักษ์ศิลปาคม | ||
หนองตะไก้ | 2190 | งต. | 550.65 กม. | 3 | หนองไผ่ | เมืองอุดรธานี | เป็นย่านแหล่งขนถ่ายตู้สินค้าคอนเทนเนอร์ที่สถานีแห่งนี้
| |
คำกลิ้ง | 2193 | ลค. | 562.05 กม. | ที่หยุดรถ | บ้านจั่น | เขตตำบลบ้านจั่นและตำบลหนองขอนกว้าง ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 7 บ้านดงเด็ง ตำบลบ้านจั่น[38][39] ส่วนย่านทางหลีก (เดิม) อยู่ในเขตตำบลหนองขอนกว้าง} เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2528[40] | ||
หนองขอนกว้าง | 2194 | ออ. | 565.40 กม. | 3 | หนองขอนกว้าง |
เดิมเป็นที่หยุดรถ ยกฐานะเป็นสถานีในวันที่ 1 ธันวาคม 2495[41] ตั้งอยู่ในเขตค่ายทหาร , มีศูนย์จ่ายปูนซีเมนต์ TPI ที่สถานีแห่งนี้ และเป็นต้นทาง/ปลายทางของขบวนรถปูนซีเมนต์ของบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) ที่ 517/518 และ 519/520 ระหว่างสถานีรถไฟหนองขอนกว้าง- สถานีรถไฟหินลับ | ||
อุดรธานี | 2195 | รด. | 568.84 กม. | 1 | หมากแข้ง |
| ||
นาพู่ | 2200 | ภู. | 593.00 กม. | 3 | นาพู่ | เพ็ญ |
มีฐานะเป็นที่หยุดรถมาตั้งแต่แรกในปี พ.ศ. 2498 และยุบเลิกในปี พ.ศ. 2541 (นาภู่เดิมสะกดด้วย ภ.) การตั้งและเปิดใช้สถานีรถไฟนาพู่ เป็นหนึ่งในโครงการปรับปรุงทางรถไฟระยะที่ 6 จากชุมทางถนนจิระ-ชุมทางบัวใหญ่-หนองคาย ระยะทาง 278 กิโลเมตร ซึ่งระหว่างสถานีอุดรธานี-สถานีนาทา มีระยะห่าง 49 กิโลเมตร มีที่หยุดรถ 3 จุด แต่ไม่มีสถานีในการจัดหลีกขบวนรถ ร.ฟ.ท. จึงได้ผนวกที่หยุดรถทั้ง 3 จุด จัดตั้งเป็นสถานีขึ้นใหม่อีก 1 สถานี เป็นสถานีนาพู่ โดยเป็นจุดศูนย์กลางระหว่างสถานีอุดรธานี กับสถานีนาทา เพื่อใช้ในการจัดหลีกขบวนรถและลดความล่าช้าของขบวนรถ พร้อมทั้งอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง ได้ใช้รถไฟเป็นพาหนะในการเดินทาง และรองรับการขนส่งด้านเศรษฐกิจในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่คาดว่าจะมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้น เปิดใช้อาคารสถานีอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 มีนาคม 2558[42] | |
นาทา | 2207 | ยน. | 617.84 กม. | 3 | หนองกอมเกาะ | เมืองหนองคาย | หนองคาย | เดิมเป็นที่ตั้งของสถานี "หนองคาย" ได้แปรสภาพเป็นสถานี "นาทา"[43] ในวันที่ 10 มกราคม 2501เนื่องจากสถานีหนองคายได้ย้ายไปตั้งที่ กม. 624 แทน
|
หนองคาย | 2208 | นค. | 621.10 กม. | 1 | มีชัย |
สุดทางรถไฟสายอีสานเหนือที่สถานีนี้ และเป็นสถานีรถไฟสุดท้ายในเขตประเทศไทย ก่อนเข้าสู่เขตประเทศลาวที่สถานีรถไฟท่านาแล้ง , มือคันกลับประแจแบบประแจกลสายลวด-สัญญาณไฟสี แต่ไม่มีลวดโยงนอกสถานี , มีทางแยกไปตลาดหนองคาย ซึ่งปัจจุบันถูกยกเลิกใช้งานแล้ว | ||
สะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 1 ชายแดนไทย-ลาว กม. 623+756.00 | ||||||||
ท่านาแล้ง | 7201 | ลล. | 627.25 กม. | 2 | บ้านดงโพสี | หาดทรายฟอง | นครหลวงเวียงจันทน์ |
สถานีรถไฟแรกของ สปป.ลาว |
คำสะหวาด | 635.06 กม. | 1 | บ้านคำสะหวาด | ไชยเชษฐา |
สิ้นสุดรถไฟไทย - ลาว |
ชุมทางแก่งคอย—ชุมทางบัวใหญ่ (กค.—วญ.)
[แก้]ทางรถไฟสายชุมทางแก่งคอย-ชุมทางบัวใหญ่ เดิมเรียก ทางรถไฟเลียบลำน้ำป่าสัก[44] เป็นเส้นทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง โดยเริ่มตั้งแต่อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ไปจนถึงอำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ชุมทางแก่งคอย - ชุมทางบัวใหญ่ | ||||||||
ชุมทางแก่งคอย | 2011 | กค. | 125.10 กม. | 1 | แก่งคอย | แก่งคอย | สระบุรี |
ตรงไปในเส้นทางเดิม คือ สายอีสานใต้ สุดเส้นทางที่สถานีอุบลราชธานี , มีทางรถไฟสาย ชุมทางคลองสิบเก้า - ชุมทางแก่งคอย ที่แยกจากเส้นทาง กรุงเทพฯ - ชุมทางฉะเชิงเทรา - ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก หรือสายตะวันออกเหนือที่สถานีชุมทางคลองสิบเก้ามาเชื่อมบรรจบที่สถานีแห่งนี้ด้วย |
บ้านช่องใต้ | 2012 | ชต. | 128.80 กม. | 3 | บ้านป่า | |||
เขาคอก | 2013 | ขก. | 134.37 กม. | ที่หยุดรถ | ท่าตูม |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2528[45] | ||
เขาหินดาด | 2015 | ดด. | 141.85 กม. | ที่หยุดรถ | ท่าคล้อ |
เปิดเมื่อ 20 กันยายน 2502 | ||
หินซ้อน | 2017 | หซ. | 147.90 กม. | 3 | หินซ้อน |
| ||
เขาสูง | 2018 | ขส. | 152.30 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
แก่งเสือเต้น | 2020 | แส. | 159.65 กม. | 3 | หนองบัว | พัฒนานิคม | ลพบุรี |
เข้าเขตจังหวัดลพบุรี |
เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ | 2301 | ขธ. | 162.38 กม. | ที่หยุดรถ |
ลงที่นี่สามารถเดินเข้าไปที่เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ได้, ขบวนรถด่วนดีเซลรางที่ 75/76 (กรุงเทพ-หนองคาย-กรุงเทพ) จะหยุดรับส่งผู้โดยสารในวันเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการ, ช่วงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม จะมีขบวนรถนำเที่ยวเขื่อนป่าสักชลสิทธ์มาจอดที่นี่ | |||
บ้านหนองบัว | 2022 | าบ. | 165.96 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
โคกสลุง | 2024 | คุ. | 176.55 กม. | 4 | โคกสลุง | ตั้งอยู่ริมเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์, ช่วงเดือนพฤษจิกายน-มกราคม จะมีขบวนรถนำเที่ยวเขื่อนป่าสักชลสิทธ์มาจอดที่นี่
| ||
สุรนารายณ์ | 2026 | ะน. | 185.80 กม. | 3 | ม่วงค่อม | ชัยบาดาล |
เดิมชื่อว่า "สุระนารายณ์",ตั้งชื่อสถานีตามชื่อของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 205 สายบ้านหมี่–สามแยกสุรนารายณ์ (ถนนสุรนารายณ์) ซึ่งอยู่ห่างจากสถานีเพียง 0.94 กิโลเมตร และห่างจากแยกม่วงค่อม ในทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 สายสามแยกพุแค – เลย เพียง 2.9 กิโลเมตร | |
โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ | 2028 | 193.93 กม. | ที่หยุดรถ | ห้วยหิน | ||||
เขายายกะตา | 2030 | เย. | 198.95 กม. | ที่หยุดรถ | ชัยนารายณ์ |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2519[25] | ||
ตลาดลำนารายณ์ | 2032 | รน. | 207.38 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
ลำนารายณ์ | 2033 | ลา. | 208.80 กม. | 1 | ลำนารายณ์ | เขตตำบลลำนารายณ์และตำบลชัยนารายณ์ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 10 บ้านรถไฟพัฒนา ตำบลลำนารายณ์[46][47] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลชัยนารายณ์
| ||
บ้านเกาะรัง | 2036 | รง. | 220.35 กม. | ที่หยุดรถ | เกาะรัง | |||
แผ่นดินทอง | 2038 | แง. | 226.45 กม. | 3 | หนองยายโต๊ะ | |||
บ้านจงโก | 2040 | จโ. | 236.65 กม. | ที่หยุดรถ | หนองรี | ลำสนธิ | ||
โคกคลี | 2042 | คี. | 240.87 กม. | 3 |
| |||
เข้าอุโมงค์เขาพังเหย ยาว 230.60 เมตร กม.ที่ 248.80-249.03 | ||||||||
ช่องสำราญ | 2045 | อช. | 250.64 กม. | 3 | วะตะแบก | เทพสถิต | ชัยภูมิ |
เข้าเขตจังหวัดชัยภูมิ |
บ้านวะตะแบก (เทพสถิต) | 2049 | แบ. | 263.14 กม. | 2 |
| |||
ห้วยยายจิ๋ว | 2052 | จย. | 273.13 กม. | 3 | ห้วยยายจิ๋ว | |||
บ้านปากจาบ | 2054 | จบ. | 279.97 กม. | ที่หยุดรถ | โคกเพชรพัฒนา | บำเหน็จณรงค์ |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2519[48] | |
บำเหน็จณรงค์ | 2057 | าจ. | 290.53 กม. | 2 | บ้านเพชร |
| ||
บ้านกลอย | 2058 | ย้. | 293.25 กม. | ป้ายหยุดรถ | ||||
วังกะอาม | 2059 | วอ. | 297.30 กม. | ที่หยุดรถ | บ้านตาล |
เปิดเป็นที่หยุดรถในวันที่ 1 ธันวาคม 2514[49] | ||
โนนคร้อ | 2060 | น้. | 302.10 กม. | ที่หยุดรถ | บ้านขาม | จัตุรัส |
เป็นที่หยุดรถตั้งแต่แรก ต่อมาได้ยกขึ้นเป็นสถานี ปัจจุบันลดระดับเป็นที่หยุดรถเหมือนเดิม | |
จัตุรัส | 2062 | จต. | 310.19 กม. | 1 | บ้านกอก | ลงสถานีนี้สามารถเดินทางไปสู่ตัวเมืองชัยภูมิประมาณ 40 กิโลเมตร
| ||
หนองฉิม | 2066 | ฉม. | 322.85 กม. | 3 | หนองฉิม | เนินสง่า | ||
บ้านตาเนิน | 2068 | บต. | 330.15 กม. | ที่หยุดรถ | ตาเนิน | |||
บ้านหนองขาม | 2069 | บ้. | 334.05 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
บ้านเหลื่อม | 2072 | นเ. | 341.18 กม. | 2 | บ้านเหลื่อม | บ้านเหลื่อม | นครราชสีมา | เข้าเขตจังหวัดนครราชสีมา, เขตตำบลบ้านเหลื่อมและตำบลวังโพธิ์ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านตลาดบ้านเหลื่อม ตำบลบ้านเหลื่อม[50][51] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลวังโพธิ์และตำบลโคกกระเบื้อง
|
บ้านโคกกระเบื้อง | 2073 | ะอ. | 346.16 กม. | ที่หยุดรถ | โคกกระเบื้อง | |||
บ้านหนองปรือโป่ง | 2075 | นป. | 351.83 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
หนองพลวง | 2076 | งว. | 355.19 กม. | 3 | หนองบัวสะอาด | บัวใหญ่ | ||
บ้านกระพี้ | 2303 | พี. | 358.20 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
บ้านเก่างิ้ว | 2077 | งิ. | 360.17 กม. | ป้ายหยุดรถ | ||||
บ้านสระครก | 2078 | ะค. | 362.14 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
บ้านโสกรัง | 2079 | บั. | 366.50 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
ชุมทางบัวใหญ่ | 2136 | วญ. | 375.90 กม. | 1 | บัวใหญ่ |
เป็นย่านจุดพักเติมเชื้อเพลิง , เชื่อมบรรจบกับเส้นทาง ชุมทางถนนจิระ - หนองคาย - ท่านาแล้ง หรือสายอีสานเหนือที่สถานีแห่งนี้ด้วย |
อ้างอิง
[แก้]- ฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. บัญชีรายชื่อสถานี/ที่หยุดรถ/ป้ายหยุดรถ/ระยะทาง/ชั้นสถานี/สังกัด. ม.ป.ท. (ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์), 2553 เก็บถาวร 2012-12-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ประกาศยกเลิกที่หยุดรถแกรนด์ คาแนล ป้ายหยุดรถหลักหก และที่หยุดรถคลองรังสิต เป็นการถาวร ตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน 2563 เป็นต้นไป ,
- ↑ "รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถ สายตะวันออกเฉียงเหนือ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-10-26. สืบค้นเมื่อ 2009-10-26.
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองควายโซ อำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (ตอนพิเศษ 85 ง): 187–216. วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2540
- ↑ 4.0 4.1 "รฟท.เลื่อนเปิดอุโมงค์ผาเสด็จและอุโมงค์หินลับเป็นเดือน ก.ย. ล้างฝุ่นแล้วแต่เหลือกลิ่นควันเครื่องยนต์". ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 13 สิงหาคม 2567.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลกลางดง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "คำสั่งยกที่หยุดรถคลองขนานจิตร เป็นสถานีทางสะดวก มีหลีกยาว 504.56 เมตร". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2496
- ↑ 7.0 7.1 "คำสั่งยกที่หยุดรถดอนใหญ่ และ โคกสะอาด เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2497
- ↑ "คำสั่งยกที่หยุดรถบ้านพุทธเป็นสถานี". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลทองหลาง อำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 115 ง): 84–117. วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลทับสวาย อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 119 ง): 85–111. วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2541
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองกะทิง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองนครราชสีมา อำเภอครบุรี อำเภอสูงเนิน อำเภอห้วยแถลง อำเภอคง อำเภอด่านขุนทด และอำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 88 (120 ง): 3100–3136. วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
- ↑ "คำสั่งยกที่หยุดรถบ้านแสลงพัน เป็นสถานีทางสะดวก มีหลีกยาว 501.10 เมตร". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2495
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลห้วยราชา อำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 98 ง): 292–325. วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2541
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลยาง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอศีขรภูมิ อำเภอปราสาท อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 98 (49 ง): 912–927. วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2524
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลสำโรงทาบ อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 80 (35 ง): 1001–1002. วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2506
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองไผ่ล้อม อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลเมืองเหนือ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (ตอนพิเศษ 96 ง): 1–39. วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2540
- ↑ 24.0 24.1 24.2 "คำสั่งยกที่หยุดรถบ้านเกาะ กุดกว้าง ดงทองหลาง บ้านกระนวน ห้วยระหัด โจดหนองแก หนองเม็ก สายหนองคายฯ เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2496
- ↑ 25.0 25.1 "ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2519 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2516 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2515)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2515
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองมะเขือ อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลบ้านหัน อำเภอโนนศิลา จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่กิ่งอำเภอโนนศิลา จังหวัดขอนแก่น" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 121 ง): 263–272. วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2541
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในเทศบาลตำบลบ้านไผ่ (ตำบลในเมืองและตำบลบ้านไผ่) อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (ตอนพิเศษ 27 ง): 1–26. วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2542
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลวังชัย อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (ตอนพิเศษ 27 ง): 27–57. วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2542
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลน้ำพอง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (ตอนพิเศษ 27 ง): 27–57. วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2542
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลเขาสวนกวาง อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 121 ง): 172–187. วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2541
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลบ้านจั่น อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (ตอนพิเศษ 27 ง): 140–258. วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2542
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ณ สมุดเลขรหัส แทนชื่อสถานีและที่หยุดรถ เริ่มใช้วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528
- ↑ "คำสั่งยกที่หยุดหนองขอนกว้าง เป็นสถานีทางสะดวก มีหลีกยาว 200 เมตร รางตันยาว 54 เมตร". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2495
- ↑ "การรถไฟแห่งประเทศไทย พิธีเปิดอาคารสถานีรถไฟนาพู่ ณ สถานีรถไฟนาพู่ ตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2558
- ↑ "คำสั่งเปิดที่หยุดรถหนองคาย ที่ กม. 624 พร้อมท่าแพขนานยนต์อย่างไม่เป็นทางการ ส่วนสถานีหนองคาย ให้แปรสภาพเป็น สถานีนาทา". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2501
- ↑ "พระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนเพื่อสร้างทางรถไฟสายเลียบลำน้ำป่าสัก พุทธศักราช 2487" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 61 (79): 1261. 31 ธันวาคม 2487.
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ณ สมุดเลขรหัส แทนชื่อสถานีและที่หยุดรถ เริ่มใช้วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลลำนารายณ์ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 60 ง): 148–194. วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2541
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2520 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2519)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2519
- ↑ "ด้วยการรถไฟฯได้จัดสร้างที่หยุดรถขึ้นที่ กม.297/30 ระหว่างสถานีบำเหน็จณรงค์ กับสถานีโนนคร้อ ในทางสายลำนารายณ์ แต่ที่หยุดรถดังกล่าวยังไม่มีชื่อ จึงได้ตั้งชื่อที่หยุดรถที่สร้างขึ้นใหม่ตามที่กระทรวงมหาดไทยเห็นชอบ ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2514". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-14. สืบค้นเมื่อ 2023-02-14. วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2508
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลบ้านเหลื่อม อำเภอบ้านเหลื่อม จังหวัดนครราชสีมา". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอบ้านเหลื่อม จังหวัดนครราชสีมา" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 115 ง): 206–214. วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541