ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฝ่ายสัมพันธมิตร/ฝ่ายภาคี

1914–1918
ฝ่ายสัมพันธมิตรในสีน้ำเงิน ฝ่ายมหาอำนาจกลางในสีส้ม
ฝ่ายสัมพันธมิตรสำคัญ:

รัฐพันธมิตรอื่น ๆ:

สถานะพันธมิตรทางการทหาร
ยุคประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
• ก่อตั้ง
1914
• ยุติ
1918
ก่อนหน้า
ถัดไป
พันธมิตรอังกฤษ-โปรตุเกส
สนธิสัญญาลอนดอน (1915)
พันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซีย
พันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่น
ความตกลงฉันทไมตรี
ความตกลงอังกฤษ-รัสเซีย
สนธิสัญญาฝรั่งเศส-ญี่ปุ่น ค.ศ. 1907
พันธมิตรอังกฤษ-โปรตุเกส
พันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่น
ความตกลงฉันทไมตรี
พันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์
ความตกลงอนุภาคี
พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม
ความสัมพันธ์ในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หรือ ฝ่ายภาคี (อังกฤษ: Entente Powers / Allies; ฝรั่งเศส: Forces de l'Entente / Alliés; อิตาลี: Potenze Intesa / Alleati; รัสเซีย: Антанта Пауэрс, Antanta Pauers / Союзники, Soyuzniki; ญี่ปุ่น: 協商国, Kyoushoukoku / 連合国, Rengōkuni) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และหน่วยทหารเชโกสโลวาเกีย[1] เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง[2]

สมาชิก[แก้]

สมาชิกมหาอำนาจ[แก้]

ฝ่ายสัมพันธมิตรมีสมาชิกหลักอยู่ 6 ประเทศ

ชาติ ดินแดน เข้าร่วม WWI
ฝรั่งเศส สาธารณรัฐฝรั่งเศส ฝรั่งเศส แอลจีเรีย
ฝรั่งเศส แอฟริกาตะวันตก
ตูนิเซีย
โมร็อกโก
ฝรั่งเศส อินโดจีน
กัมพูชา
ลาว
3 สิงหาคม 1914
 จักรวรรดิบริติช
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร
แคนาดา แคนาดา
ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
แอฟริกาใต้
อินเดีย อินเดีย
นิวฟันด์แลนด์
สหราชอาณาจักร พม่า
สหราชอาณาจักร ฮ่องกง
อียิปต์
4 สิงหาคม 1914
 รัสเซีย จักรวรรดิรัสเซีย ฟินแลนด์
โปแลนด์
1 สิงหาคม 1914
 อิตาลี ราชอาณาจักรอิตาลี ตริโปลิเตเนีย
ราชอาณาจักรอิตาลี ไซเรไนกา
ราชอาณาจักรอิตาลี เอริเทเรีย
ราชอาณาจักรอิตาลี โซมาลีแลนด์
23 พฤษภาคม 1915
จักรวรรดิญี่ปุ่น จักรวรรดิญี่ปุ่น จักรวรรดิญี่ปุ่น เกาหลี
จักรวรรดิญี่ปุ่น ไต้หวัน
จักรวรรดิญี่ปุ่น กวันตง
คาราฟูโตะ
23 สิงหาคม 1914
 สหรัฐ สหรัฐ ฟิลิปปินส์
รัฐฮาวาย ฮาวาย
รัฐอะแลสกา อะแลสกา
6 เมษายน 1917

สมาชิกรอง[แก้]

ชาติ ดินแดน เข้าร่วม WWI
ราชอาณาจักรเซอร์เบีย ราชอาณาจักรเซอร์เบีย 28 กรกฎาคม 1914
เบลเยียม ราชอาณาจักรเบลเยียม คองโก 4 สิงหาคม 1914
ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร 5 สิงหาคม 1914
โปรตุเกส สาธารณรัฐโปรตุเกส โปรตุเกส โมซัมบิก
โปรตุเกส แองโกลา
โปรตุเกส กินี
โปรตุเกส กาบูเวร์ดี
โปรตุเกส มาเก๊า
โปรตุเกส ติมอร์
9 มีนาคม 1916
ราชอาณาจักรโรมาเนีย ราชอาณาจักรโรมาเนีย 28 สิงหาคม 1916
 ปานามา 7 เมษายน 1917
 คิวบา 7 เมษายน 1917
ราชอาณาจักรกรีซ ราชอาณาจักรกรีซ 27 มิถุนายน 1917
ไทย ราชอาณาจักรสยาม 22 กรกฎาคม 1917
 ไลบีเรีย 4 สิงหาคม 1917
ไต้หวัน สาธารณรัฐจีน ทิเบต 14 สิงหาคม 1917
บราซิล บราซิล 26 ตุลาคม 1917
 กัวเตมาลา 23 เมษายน 1918
 นิการากัว 6 พฤษภาคม 1918
 คอสตาริกา 23 พฤษภาคม 1918
 เฮติ 12 กรกฎาคม 1918
 ฮอนดูรัส 19 กรกฎาคม 1918

ประวัติ[แก้]

ใบปิดของรัสเซีย แสดงภาพอุปมานิทัศน์ของประเทศกลุ่มไตรภาคี
พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (ซ้าย), แรมง ปวงกาเร แห่งฝรั่งเศส (กลาง) และจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย (ขวา)

ฝ่ายสัมพันธมิตรนั้นอยู่ตรงข้ามกับฝ่ายมหาอำนาจกลาง เป็นกลุ่มที่ตั้งขึ้นภายใต้ข้อตกลงไตรภาคี โดยสามมหาอำนาจของยุโรป

"บิกโฟร์": (จากซ้ายไปขวา) เดวิด ลอยด์ จอร์จ (สหราชอาณาจักร), วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด (อิตาลี), ฌอร์ฌ เกลม็องโซ (ฝรั่งเศส) และ วูดโรว์ วิลสัน (สหรัฐ) ในแวร์ซาย
descrdescrdescr
descrdescr
ผู้นำหลักฝ่ายสัมพันธมิตรหลังจบสงคราม: เดวิด ลอยด์ จอร์จ (สหราชอาณาจักร), ฌอร์ฌ เกลม็องโซ (ฝรั่งเศส), วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด (อิตาลี), วูดโรว์ วิลสัน (สหรัฐ) และฮาระ ทากาชิ (ญี่ปุ่น)

ต่อมาในวันที่ 6 เม.ย. 1917 อเมริกาได้เข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร และจากนั้น สยามและราชอาณาจักรกรีซก็ได้เข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรด้วย โดยหลังจากสงครามสิ้นสุด จึงมีประเทศมหาอำนาจอยู่ 5 ประเทศ (ส่วนจักรวรรดิรัสเซีย,จักรวรรดิเยอรมัน, จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้นล่มสลายแล้วหลังสงครามสิ้นสุด) ได้แก่

สถิติ[แก้]

สถิติประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร (1913) และจำนวนทหารระหว่างสงคราม[3]
ประเทศ ประชากร (millions) แผ่นดิน (million km2) จีดีพี ($ billion, 1990 prices) บุคลากรที่ระดมกำลัง
คลื่นแรก (1914)
จักรวรรดิรัสเซีย รัสเซีย (รวม โปแลนด์) 173.2 21.7 257.7 12,000,000
ฟินแลนด์ 3.2 0.4 6.6
รวม 176.4 22.1 264.3
สาธารณรัฐฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 39.8 0.5 138.7 8,410,000[4]
อาณานิคมฝรั่งเศส 48.3 10.7 31.5
รวม 88.1 11.2 170.2
จักรวรรดิบริติช สหราชอาณาจักร 46.0 0.3 226.4 6,211,922[5]
อาณานิคมบริติช 380.2 13.5 257 1,440,437[6][7]
ประเทศในเครือจักรภพบริติช 19.9 19.5 77.8 1,307,000
รวม 446.1 33.3 561.2 8,689,000[8]
จักรวรรดิญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 55.1 0.4 76.5 800,000
อาณานิคมญี่ปุ่น[9] 19.1 0.3 16.3
รวม 74.2 0.7 92.8
เซอร์เบีย, มอนเตเนโกร, และ บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 7.0 0.2 7.2 760,000
คลื่นที่สอง (1915–1916)
ราชอาณาจักรอิตาลี อิตาลี 35.6 0.3 91.3 5,615,000
อาณานิคมอิตาลี 2.0 2.0 1.3
รวม 37.6 2.3 92.6
สาธารณรัฐโปรตุเกส โปรตุเกส 6.0 0.1 7.4 100,000
อาณานิคมโปรตุเกส 8.7 2.4 5.2
รวม 14.7 2.5 12.6
ราชอาณาจักรโรมาเนีย 7.7 0.1 11.7 750,000
คลื่นที่สาม (1917–1918)
ลาตินอเมริกา ลาตินอเมริกา
สหรัฐอเมริกา สหรัฐ 96.5 7.8 511.6 4,355,000
เขตโพ้นทะเลในภาวะพึ่งพิง[10] 9.8 1.8 10.6
รวม 106.3 9.6 522.2
รัฐอเมริกากลาง[11] 9.0 0.6 10.6
สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล 25.0 8.5 20.3 1,713[12]
ราชอาณาจักรกรีซ 4.8 0.1 7.7 230,000[4]
ราชอาณาจักรสยาม 8.4 0.5 7.0 1,284[5]
สาธารณรัฐจีน 441.0 11.1 243.7
สาธารณรัฐไลบีเรีย 1.5 0.1 0.9

พลังอำนาจหลัก[แก้]

จักรวรรดิอังกฤษ[แก้]

จักรวรรดิรัสเซีย[แก้]

สาธารณรัฐฝรั่งเศส[แก้]

จักรวรรดิญี่ปุ่น[แก้]

ราชอาณาจักรอิตาลี[แก้]

สหรัฐ[แก้]

รัฐอื่นในการรบ[แก้]

ราชอาณาจักรเบลเยียม[แก้]

สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล[แก้]

ราชอาณาจักรกรีซ[แก้]

ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร[แก้]

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย[แก้]

ราชอาณาจักรโรมาเนีย[แก้]

ผู้นำในสงคราม[แก้]

ผู้นำทางทหารหลักช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง: Jules Jacques de Dixmude (เบลเยียม), Armando Diaz (อิตาลี), Ferdinand Foch (ฝรั่งเศส), จอห์น เพอร์ชิง (สหรัฐ) และ David Beatty (สหราชอาณาจักร)
ผู้นำทางทหารรองช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง: เฟลิกซ์ เวียเลอมันส์ (เบลเยียม), คามิโอะ มิตสึโอมิ (ญี่ปุ่น), แกรนด์ดยุกนิโคลัส นีโคลาเยวิช (รัสเซีย), ราโดเมียร์ ปุตนิก (เซอร์เบีย), พระยาเทพหัสดิน (สยาม), โบซิดาร์ ยานโควิช (มอนเตเนโกร), พานาจิโอติส ดังลิส (กรีซ), อเล็กซานดรู อาเวเรสกู (โรมาเนีย), ฟือร์นังดู ทามักนินี ดา อับเรอู (โปรตุเกส) และเปดรู ฟรอนติน (บราซิล)
Collection of flags
Marshal Foch's Victory-Harmony Banner

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย ราชอาณาจักรเซอร์เบีย[แก้]

ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร[แก้]

เบลเยียม ราชอาณาจักรเบลเยียม[แก้]

รัสเซีย จักรวรรดิรัสเซีย[แก้]

Aleksei Brusilov in Rivne, Volhynian Governorate, 1915

ฝรั่งเศส สาธารณรัฐฝรั่งเศส[แก้]

President Raymond Poincaré and King George V, 1915
  • แรมง ปวงกาเร – ประธานาธิบดีฝรั่งเศส
  • René Viviani – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (13 มิถุนายน 1914 - 29 ตุลาคม 1915)
  • Aristide Briand – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (29 ตุลาคม 1915 - 20 มีนาคม 1917)
  • Alexandre Ribot – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (20 มีนาคม 1917 - 12 กันยายน 1917)
  • Paul Painlevé – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (12 กันยายน 1917 - 16 พฤศจิกายน 1917)
  • ฌอร์ฌ เกลม็องโซ – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 1917)
  • โฌแซ็ฟ ฌ็อฟร์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (จนกระทั่ง 13 ธันวาคม 1916)
  • โรเบิร์ต นีเวลล์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (จนกระทั่ง เมษายน 1917)
  • ฟีลิป เปแต็ง – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (ตั้งแต่ เมษายน 1917)

จักรวรรดิบริติช จักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพ[แก้]

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์[แก้]

First Lord of the Admiralty Winston Churchill, 1914
Douglas Haig and Ferdinand Foch inspecting the Gordon Highlanders, 1918

ออสเตรเลีย เครือรัฐออสเตรเลีย[แก้]

แคนาดา แคนาดา[แก้]

บริติชราช บริติชอินเดีย[แก้]

  • Charles Hardinge – อุปราชแห่งอินเดีย (1910–1916)
  • Frederic Thesiger – อุปราชแห่งอินเดีย (1916–1921)

สหภาพแอฟริกาใต้ สหภาพแอฟริกาใต้[แก้]

นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์[แก้]

นิวฟันด์แลนด์[แก้]

  • Sir Edward Morris – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1909–1917)
  • Sir John Crosbie – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1917–1918)
  • Sir William Lloyd – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1918–1919)

ราชอาณาจักรอิตาลี ราชอาณาจักรอิตาลี[แก้]

General Cadorna visiting Italian troops before the Second Battle of the Isonzo.

จักรวรรดิญี่ปุ่น จักรวรรดิญี่ปุ่น[แก้]

Commander Eto greeted by King George V at Scapa Flow

สหรัฐ[แก้]

USAAS recruiting poster, 1918

ไทย สยาม (ไทย)[แก้]

ทหารของกองทหารอาสาสยาม กำลังเดินสวนสนามในกรุงปารีส ค.ศ. 1919

ราชอาณาจักรโรมาเนีย ราชอาณาจักรโรมาเนีย[แก้]

โปรตุเกส สาธารณรัฐโปรตุเกส[แก้]

บราซิล สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล[แก้]

The Brazilian ship Cruzador Bahia

ราชอาณาจักรกรีซ ราชอาณาจักรกรีซ[แก้]

Greek propaganda poster

ลักเซมเบิร์ก ราชรัฐลักเซมเบิร์ก[แก้]

ไต้หวัน สาธารณรัฐจีน[แก้]

เอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์[แก้]

สาธารณรัฐอาร์มีเนีย[แก้]

สาธารณรัฐเชโกสโลวักที่หนึ่ง เชโกสโลวาเกีย[แก้]

กำลังพลและกำลังพลสูญเสีย[แก้]

แผนภูมิวงกลมแสดงจำนวนทหารฝ่ายสัมพันธมิตรที่เสียชีวิต
ประเทศ กำลังพลที่ระดมมา เสียชีวิตในการปฏิบัติหน้าที่ บาดเจ็บในการปฏิบัติหน้าที่ รวมกำลังพลสูญเสีย % ของกำลังพลที่ระดมมา
ออสเตรเลีย 412,9531 61,928[13] 152,171 214,099 52%
เบลเยียม 267,0003 38,172[14] 44,686 82,858 31%
บราซิล 1,713[15] 100[16] 0 100 5.84%
แคนาดา 628,9641 64,944[17] 149,732 214,676 34%
ฝรั่งเศส 8,410,0003 1,397,800[18] 4,266,000 5,663,800 67%
กรีซ 230,0003 26,000[19] 21,000 47,000 20%
อินเดีย 1,440,4371 74,187[20] 69,214 143,401 10%
อิตาลี 5,615,0003 651,010[21] 953,886 1,604,896 29%
ญี่ปุ่น 800,0003 1,415[22] 907 1,322 4%
โมนาโก 80[23] 8[23] 0 8[23] 10%
มอนเตเนโกร 50,0003 3,000 10,000 13,000 26%
เนปาล 200,000[24] 30,670 21,009 49,823 25%
นิวซีแลนด์ 128,5251 18,050[25] 41,317 59,367 46%
โปรตุเกส 100,0003 7,222[26] 13,751 20,973 21%
โรมาเนีย 750,0003 250,000[27] 120,000 370,000 49%
รัสเซีย 12,000,0003 1,811,000[28] 4,950,000 6,761,000 56%
เซอร์เบีย 707,3433 275,000[29] 133,148 408,148 58%
สยาม 1,2842 19 0 19 3%
แอฟริกาใต้ 136,0701 9,463[30] 12,029 21,492 16%
สหราชอาณาจักร 6,211,9222 886,342[31] 1,665,749 2,552,091 41%
สหรัฐ 4,355,0003 116,708[32] 205,690 322,398 7%
รวม 42,244,409 5,741,389 12,925,833 18,744,547 49%

การยอมแพ้ส่วนน้อย[แก้]

ธง ชื่อ วันยอมแพ้ สนธิสัญญา
เบลเยียม เบลเยียม 31 ตุลาคม 1914 ไม่มี
ราชอาณาจักรเซอร์เบีย เซอร์เบีย 23 กันยายน 1915 ไม่มี
ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร 17 มกราคม 1916 ไม่มี
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย รัสเซียโซเวียต 3 มีนาคม 1918 สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์
ราชอาณาจักรโรมาเนีย โรมาเนีย 7 พฤษภาคม 1918 สนธิสัญญาบูคาเรสต์

ดูเพิ่ม[แก้]

เชิงอรรถ[แก้]

  1. Karel Schelle, The First World War and the Paris Peace Agreement, GRIN Verlag, 2009, p. 24
  2. First World War.com - Feature Articles - The Causes of World War One
  3. S.N. Broadberry; Mark Harrison (2005). The Economics of World War I. illustrated. Cambridge University Press. p. 7. ISBN 978-1-139-44835-2. สืบค้นเมื่อ 2015-03-16.
  4. 4.0 4.1 Tucker, Spencer C (1999). The European Powers in the First World War: An Encyclopedia. New York: Garland. p. 172. ISBN 978-0-8153-3351-7.
  5. 5.0 5.1 Gilbert, Martin (1994). Atlas of World War I. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-521077-4. OCLC 233987354.
  6. War Office Statistics 2006, p. 756.
  7. Indian Army only
  8. Baker, Chris. "Some British Army statistics of the Great War". www.1914-1918.net (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-18. สืบค้นเมื่อ 2017-08-07.
  9. เกาหลี, ฟอร์โมซา, กวันตง and ซาฮาลิน
  10. As Hawaii and Alaska were not yet U.S. states, they are included in the dependencies.
  11. คอสตาริกา, คิวบา, กัวเตมาลา, เฮติ, ฮอนดูรัส, นิการากัว และ ปานามา
  12. Hernâni Donato (1987). Dicionário das Batalhas Brasileiras. Rio de Janeiro: IBRASA. ISBN 978-85-348-0034-1.
  13. Australia casualties
    Included in total are 55,000 killed or missing in action and died of wounds6,85-.
    The Commonwealth War Graves Commission Annual Report 2005-2006 is the source of total military dead.4-
    Totals include 2,005 military deaths during 1919–215-. The 1922 War Office report listed 59,330 Army war dead1,237.
  14. Belgium casualties
    Included in total are 35,000 killed or missing in action and died of wounds6,85 Figures include 13,716 killed and 24,456 missing up until Nov.11, 1918. "These figures are approximate only, the records being incomplete." 1,352.
  15. Donato 1987.
  16. Francisco Verras; "D.N.O.G.: contribuicao da Marinha Brasileira na Grande Guerra" ("DNOG; the role of Brazilian Navy in the Great War") (ในภาษาโปรตุเกส) "A Noite" Ed. 1920
  17. Canada casualties
    Included in total are 53,000 killed or missing in action and died of wounds.6,85
    The Commonwealth War Graves Commission Annual Report 2005-2006 is the source of total military dead.4
    Totals include 3,789 military deaths during 1919–21 and 150 Merchant Navy deaths5-. The losses of Newfoundland are listed separately on this table. The 1922 War Office report listed 56,639 Army war dead1,237.
  18. France casualties
    Included in total are 1,186,000 killed or missing in action and died of wounds6,85. Totals include the deaths of 71,100 French colonial troops. 7,414-Figures include war related military deaths of 28,600 from 11/11/1918 to 6/1/1919.7,414
  19. Greece casualties
    Jean Bujac in a campaign history of the Greek Army in World War One listed 8,365 combat related deaths and 3,255 missing8,339, The Soviet researcher Boris Urlanis estimated total dead of 26,000 including 15,000 military deaths due disease6,160
  20. India casualties
    British India included present-day India, Pakistan and Bangladesh.
    Included in total are 27,000 killed or missing in action and died of wounds6,85.
    The Commonwealth War Graves Commission Annual Report 2005-2006 is the source of total military dead.4
    Totals include 15,069 military deaths during 1919–21 and 1,841 Canadian Merchant Navy dead5. The 1922 War Office report listed 64,454 Army war dead1,237
  21. Italy casualties
    Included in total are 433,000 killed or missing in action and died of wounds6,85
    Figures of total military dead are from a 1925 Italian report using official data9.
  22. War dead figure is from a 1991 history of the Japanese Army10,111.
  23. 23.0 23.1 23.2 Monaco 11-Novembre : ces Monégasques morts au champ d'honneur | Nice-Matin
  24. Jain, G (1954) India Meets China in Nepal, Asia Publishing House, Bombay P92
  25. New Zealand casualties
    Included in total are 14,000 killed or missing in action and died of wounds6,85.
    The Commonwealth War Graves Commission Annual Report 2005-2006 is the source of total military dead.4
    Totals include 702 military deaths during 1919–215. The 1922 War Office report listed 16,711 Army war dead1,237.
  26. Portugal casualties
    Figures include the following killed and died of other causes up until Jan.1, 1920; 1,689 in France and 5,332 in Africa. Figures do not include an additional 12,318 listed as missing and POW1,354.
  27. Romania casualties
    Military dead is "The figure reported by the Rumanian Government in reply to a questionnaire from the International Labour Office"6,64. Included in total are 177,000 killed or missing in action and died of wounds6,85.
  28. Russia casualties
    Included in total are 1,451,000 killed or missing in action and died of wounds6,85. The estimate of total Russian military losses was made by the Soviet researcher Boris Urlanis.6,46–57
  29. Serbia casualties
    Included in total are 165,000 killed or missing in action and died of wounds6,85.The estimate of total combined Serbian and Montenegrin military losses of 278,000 was made by the Soviet researcher Boris Urlanis6,62–64
  30. South Africa casualties
    Included in total are 5,000 killed or missing in action and died of wounds6,85
    The Commonwealth War Graves Commission Annual Report 2005-2006 is the source of total military dead.4
    Totals include 380 military deaths during 1919–2115. The 1922 War Office report listed 7,121 Army war dead1,237.
  31. UK and Crown Colonies casualties
    Included in total are 624,000 killed or missing in action and died of wounds6,85.
    The Commonwealth War Graves Commission Annual Report 2005-2006 is the source of total military dead.4
    Military dead total includes 34,663 deaths during 1919–21 and 13,632 British Merchant Navy deaths5. The 1922 War Office report listed 702,410 war dead for the UK1,237, 507 from "Other colonies"1,237 and the Royal Navy (32,287)1,339.
    The British Merchant Navy losses of 14,661 were listed separately 1,339; The 1922 War Office report detailed the deaths of 310 military personnel due to air and sea bombardment of the UK1,674–678.
  32. United States casualties
    Official military war deaths listed by the US Dept. of Defense for the period ending Dec. 31, 1918 are 116,516; which includes 53,402 battle deaths and 63,114 other deaths.[1] เก็บถาวร 2007-01-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, The US Coast Guard lost an additional 192 dead 11,481.
  1. หลังจากการสละราชสมบัติของจักรพรรดินีโคไลที่ 2 แห่งรัสเซียในช่วงการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 รัฐบาลชั่วคราวชุดใหม่ยังคงรักษาสถานะของรัสเซียในสงคราม และได้ก่อตั้งสาธารณรัฐรัสเซียในเดือนกันยายน เมื่อเกิดการปฏิวัติเดือนตุลาคมในปีเดียวกัน บอลเชวิคจึงเถลิงอำนาจในประเทศ ระบอบใหม่ได้เปลี่ยนชื่อประเทศเป็นสาธารณรัฐโซเวียตรัสเซียและมีการลงนามสันติภาพในสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1918 จากนั้นประเทศก็ทรุดตัวลงอย่างรวดเร็วจนกลายเป็นสงครามกลางเมือง
  2. ตั้งแต่วันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1917 ในฐานะชาติผู้ให้การสนับสนุน
  3. ตั้งแต่เดือนเมษายน ค.ศ. 1915

อ้างอิง[แก้]