รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รางวัลสุพรรณหงส์
ปัจจุบัน: รางวัลสุพรรณหงส์ ครั้งที่ 31
รางวัลสำหรับผู้สร้างสรรค์ผลงานด้านวิทยุโทรทัศน์
ประเทศ ไทย
จัดโดยสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์เเห่งชาติ
รางวัลแรก25 มกราคม พ.ศ. 2535 (32 ปี)
เว็บไซต์https://www.mpc.or.th/ Edit this on Wikidata
ตัวอย่างผู้ชนะรางวัลสุพรรณหงส์ล่าสุด
← 2565 2565
 
สาขา นักเเสดงนำชายยอดเยี่ยม นักเเสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
ผู้ชนะเลิศ ณัฐรัตน์ นพรัตยาภรณ์
(วันสุดท้าย..ก่อนบายเธอ)
อุรัสยา เสปอร์บันด์
(เร็วโหด..เหมือนโกรธเธอ)
 
สาขา นักเเสดงสมทบชายยอดเยี่ยม นักเเสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม
ผู้ชนะเลิศ พชร จิราธิวัฒน์
(OMG! รักจังวะ..ผิดจังหวะ)
อสมาภรณ์ สมัครพันธ์
(Blue Again บลู อะเกน)
สาขา ผู้กำกับยอดเยี่ยม บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
ผู้ชนะเลิศ หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล
(Six Character มายาพิศวง)
ฐาปณี หลูสุวรรณ
(Blue Again บลู อะเกน)

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ หรือ รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่าง ๆ ในแต่ละปี โดยได้จัดให้มีพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2535 ประจำปี 2534 จัดโดยสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ

ประวัติ[แก้]

หลังจากสมาคมผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ไทยลดถอยบทบาทการนำลง บุคลากรในวงการภาพยนตร์ไทยได้รวมตัวกันจัดตั้งองค์กรขึ้นใหม่ ให้เป็นองค์กรหลักที่สมาชิกเป็นตัวแทนขององค์กรย่อยและ ภาคส่วนต่าง ๆ ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ครบถ้วนยิ่งขึ้น โดยใช้ชื่อ สมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ (The Federation of National Film Associations of Thailand) โดย ไพจิตร ศุภวารี เป็นนายกสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติคนแรก ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2534-2537

องค์กรนำของวงการภาพยนตร์ไทยว่างเว้นไม่ได้จัดการประกวดและมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ไทยอยู่ประมาณ 3 ปี จึงได้เริ่มต้นใหม่อีกครั้ง โดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ ร่วมกับ คณะกรรมการส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย (หน่วยงานในสำนักนายกรัฐมนตรี) และกรมประชาสัมพันธ์ ตามนโยบายรัฐบาลที่ได้ให้การสนับสนุนวงการอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยจัดประกวด รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ ขึ้น ทั้งนี้ไม่ถือเป็นรางวัลต่อเนื่องจาก รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ของสมาคมผู้อำนวยการสร้างแต่เป็นการเริ่มต้นใหม่

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติในระยะแรก จัดทำตัวรางวัลเป็นสัญลักษณ์ "ทางช้างเผือกสู่ดวงดาว" ซึ่งหมายถึง บุคคลที่สร้างผลงานภาพยนตร์ไทยยอดเยี่ยมและชนะเลิศในแต่ละประเภทรางวัล จนเป็นดาวดวงเด่นของปี ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นสัญลักษณ์สุพรรณหงส์จนถึงปัจจุบัน

ในปี พ.ศ. 2556 สมาพันธ์ ได้เปลี่ยนวิธีการตัดสินภาพยนตร์ที่ได้รับรางวัล โดยใช้คณะกรรมการตัดสิน 15 ท่าน ร่วมกับการลงคะแนนจากบุคคลในวงการภาพยนตร์ประมาณ 1,500 คน ในกลุ่มหลังจะแบ่งการลงคะแนนตามองค์ประกอบภาพยนตร์ในด้านต่างๆ โดยสามารถลงคะแนนผ่านทางเว็บไซต์ของสมาพันธ์ฯ หรือทางไปรษณีย์ โดยสัดส่วนคะแนนของทั้งสองกลุ่มจะอยู่ที่ 50:50

ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการเปลี่ยนเกณฑ์คัดเลือกภาพยนตร์ โดยออกเงื่อนไขว่า ภาพยนตร์ที่จะเข้าชิงรางวัลได้นั้น จะต้องเป็นภาพยนตร์ที่เข้าฉายอย่างน้อย 5 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพ ชลบุรี เชียงใหม่ นครราชสีมา และนครศรีธรรมราช หรือต้องมีคนดูตั้งแต่ 50,000 คนขึ้นไป (คิดเป็นรายได้ประมาณ 5-7 ล้านบาท) แต่หลังจากที่เปิดเผยกฎนี้ ได้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์ในแง่ลบขึ้นจากโลกออนไลน์ และผู้กำกับเอง จนเกิด #แบนสุพรรณหงส์ ขึ้น เพราะมองว่า ไม่เป็นธรรม และเอื้อหนังทุนสูงมากเกินไป และตัดสิทธิ์หนังทุนต่ำ (ศัพท์ทางหนังจะเรียกว่า หนังอินดี้) จนกฎนี้ได้ถูกพับ และยกเลิกไปแล้ว [1] [2]

รางวัล[แก้]

รายชื่อรางวัล[แก้]

รางวัลพิเศษ[แก้]

ลำดับงานประกาศผลรางวัล[แก้]

ครั้งและปีที่จัด วันที่ประกาศผล สถานที่ประกาศผลและมอบรางวัล
ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2534 วันที่ 25 มกราคม 2535 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2535 วันที่ 4 เมษายน 2536
ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2536 วันที่ 4 เมษายน 2537
ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2537 วันที่ 4 เมษายน 2538
ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2538 วันที่ 4 เมษายน 2539
ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2539 วันที่ 4 เมษายน 2540
ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2540 วันที่ 4 เมษายน 2541
ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2541 วันที่ 4 เมษายน 2542
ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2542 วันที่ 4 เมษายน 2543
ครั้งที่ 10 พ.ศ. 2543 วันที่ 4 เมษายน 2544
ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2544 วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2545 ศูนย์วัฒนธรรมแห่งชาติ
ครั้งที่ 12 พ.ศ. 2545 วันที่ 4 เมษายน 2546 โรงภาพยนตร์สกาล่า
ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2546 วันที่ 9 มกราคม 2547 โรงภาพยนตร์สกาล่า
ครั้งที่ 14 พ.ศ. 2547 วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2548 โรงภาพยนตร์สกาล่า
ครั้งที่ 15 พ.ศ. 2548 วันที่ 4 มกราคม 2549 บริเวณอนุสรณ์สถาน เรือตรวจการ 813 จังหวัดพังงา
ครั้งที่ 16 พ.ศ. 2549 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2550 สวนรัก อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา
ครั้งที่ 17 พ.ศ. 2550 วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2551 โรงละครสยามนิรมิต
ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2551 วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2552 หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
ครั้งที่ 19 พ.ศ. 2552 วันที่ 30 พฤษภาคม 2553 โรงมหรสพหลวง ศาลาเฉลิมกรุง
ครั้งที่ 20 พ.ศ. 2553 วันที่ 6 มีนาคม 2554 ศูนย์การค้า เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช พัทยา
ครั้งที่ 21 พ.ศ. 2554 วันที่ 29 เมษายน 2555 โรงภาพยนตร์สยามภาวลัย พารากอนซีนีเพล็กซ์ สยามพารากอน
ครั้งที่ 22 พ.ศ. 2555 วันที่ 1 มีนาคม 2556 โรงละครแห่งชาติ
ครั้งที่ 23 พ.ศ. 2556 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2557 ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้าพัทยา เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
ครั้งที่ 24 พ.ศ. 2557 วันที่ 1 มีนาคม 2558 หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
ครั้งที่ 25 พ.ศ. 2558 วันที่ 13 มีนาคม 2559 โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ ศูนย์การค้าสยามสแควร์วัน
ครั้งที่ 26 พ.ศ. 2559 วันที่ 5 มีนาคม 2560
ครั้งที่ 27 พ.ศ. 2560 วันที่ 11 มีนาคม 2561 หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
ครั้งที่ 28 พ.ศ. 2561 วันที่ 2 มีนาคม 2562
ครั้งที่ 29 พ.ศ. 2562 - 2563 วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 เดอะมอลล์ โคราช จ.นครราชสีมา
ครั้งที่ 30 พ.ศ. 2564 วันที่ 25 กันยายน 2564 โรงภาพยนตร์สยามภาวลัย พารากอนซีนีเพล็กซ์ สยามพารากอน
ครั้งที่ 31 พ.ศ. 2565 วันที่ 20 สิงหาคม 2566

ผลการประกาศรางวัล[แก้]

ครั้งที่ (ปีที่จัด) นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม
ครั้งที่ 1 (2521) สุพรรณหงส์ทองคำ มนตรี เจนอักษร
คนภูเขา
พิศมัย วิไลศักดิ์
ไร้เสน่หา
ด.ช. อภิรัฐ ชลาชล
ฟ้าหลังฝน
อำภา ภูษิต
ฟ้าหลังฝน
ครั้งที่ 2 (2523) จตุพล ภูอภิรมย์
เงาะป่า
จารุณี สุขสวัสดิ์
ช่างเขาเถอะ
ส. อาสนจินดา
เลือดสุพรรณ
เปียทิพย์ คุ้มวงศ์
อาอี๊
ครั้งที่ 3 (2524) สรพงศ์ ชาตรี
ถ้าเธอยังมีรัก
สุพรรษา เนื่องภิรมย์
ชายสามโบสถ์
สมควร กระจ่างศาสตร์
เด็ดหนวดพ่อตา
นันทิดา แก้วบัวสาย
สายใจ
ครั้งที่ 4 (2525) ทองปาน โพนทอง
ลูกอีสาน
จารุณี สุขสวัสดิ์
สวัสดีไม้เรียว
ด.ช.คณิต จีระดิษฐ์
ลูกอีสาน
นุชจรี ประสงค์ธรรม
สวัสดีไม้เรียว
ครั้งที่ 5 (2526) สรพงศ์ ชาตรี
มือปืน
ชณุตพร วิศิษฏโสภณ
เพื่อน-แพง
ล้อต๊อก
เงิน เงิน เงิน
คนึงนิจ ฤกษะสาร
เพื่อน-แพง
ครั้งที่ 6 (2529) รณ ฤทธิชัย
ครูสมศรี
จินตหรา สุขพัฒน์
แรงหึง
วัชระ ปานเอี่ยม
คู่วุ่นวัยหวาน
มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา
โอวตี่
ครั้งที่ 7 (2530) จรัล มโนเพ็ชร
ด้วยเกล้า
จินตหรา สุขพัฒน์
เหยื่อ
สอาด เปี่ยมพงษ์สานต์
สะพานรักสารสิน
รัชนู บุญชูดวง
รัก-ใคร่
ครั้งที่ 1 (2534) สุพรรณหงส์ สุรศักดิ์ วงษ์ไทย
กะโหลกบางตายช้ากะโหลกหนาตายก่อน
ปวีณา ชารีฟสกุล
เวลาในขวดแก้ว
รณ ฤทธิชัย
คนเลี้ยงช้าง
จันจิรา จูแจ้ง
ต้องปล้น
ครั้งที่ 2 (2535) พลรัตน์ รอดรักษา
ดร. ครก
พัชราวัณย์ พิภพวรไชย
ผู้ชายชื่อต้นผู้หญิงชื่อนุช
วงศ์ศักดิ์ ศรีนวกะตระกูล
แชะ แชะ แชะ เจอแจ๋วแหวว
ธิศวรรณ สุวรรณโพธิ์
ครั้งนี้โลกฉุดไม่อยู่
ครั้งที่ 3 (2536) จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์
คนแซ่ลี้
บุษกร พรวรรณะศิริเวช
คนแซ่ลี้
เกรียงไกร อุณหะนันท์
คนแซ่ลี้
ธัญญา โสภณ
ท่านขุนน้อยน้อยแห่งสยาม
ครั้งที่ 4 (2537) สหรัถ สังขปรีชา
คู่แท้ 2 โลก
จินตหรา สุขพัฒน์
อำแดงเหมือนกับนายริด
ด.ช.รณรงค์ บูรณัติ
กาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้
วิจิตรา ตริยะกุล
เสียดาย
ครั้งที่ 5 (2538) สมชาย เข็มกลัด
โลกทั้งใบให้นายคนเดียว
สุทธิดา เกษมสันต์ ณ อยุธยา
โลกทั้งใบให้นายคนเดียว
อรุณ ภาวิไล
โลกทั้งใบให้นายคนเดียว
วิไลวรรณ วัฒนพานิช
คู่กรรม
ครั้งที่ 6 (2539) ฌานิศ ใหญ่เสมอ
เด็กเสเพล
ธัญญา โสภณ
คู่กรรม 2
นพัตฏ์ธร มัททวีวงศ์
แรงเป็นไฟละลายแค่เธอ
พอลลีน เรือนเพชร
นางแบบ
ครั้งที่ 7 (2540) เรย์ แมคโดนัลด์
ฝันบ้าคาราโอเกะ
เฟย์ อัศเวศน์
ฝันบ้าคาราโอเกะ
บิลลี โอแกน
คนป่วนสายฟ้า
วิจิตรา ตริยะกุล
ท้าฟ้าลิขิต
ครั้งที่ 8 (2541) เรย์ แมคโดนัลด์
รักออกแบบไม่ได้
อมิตา ทาทายัง
รัก-ออกแบบไม่ได้
คมสัน นันทจิต
รัก-ออกแบบไม่ได้
ศิริลักษณ์ เถกิงสุข
เสือโจรพันธุ์เสือ
ครั้งที่ 9 (2542) อำพล ลำพูน
อั้งยี่ ลูกผู้ชายพันธุ์มังกร
ลลิตา ปัญโญภาส
เรื่องตลก 69
วิชญ์ พิมพ์กาญจนพงศ์
ดอกไม้ในทางปืน
ศิริสิน ศิริพรสมาธิกุล
เรื่องตลก 69
ครั้งที่ 10 (2543) - - - -
ครั้งที่ 11 (2544) ปวริศร์ มงคลพิสิฐ
บางกอกแดนเจอรัส
สิริยากร พุกกะเวส
มนต์รักทรานซิสเตอร์
ชัยชาญ นิ่มพูลสวัสดิ์
บางกอกแดนเจอรัส
ภัทรวรินทร์ ทิมกุล
บางกอกแดนเจอรัส
ครั้งที่ 12 (2545) นพดล ดวงพร
15 ค่ำ เดือน 11
อริศรา วงษ์ชาลี
1+1 เป็นสูญ
หม่อมราชวงศ์มงคลชาย ยุคล
ตะลุมพุก
ณัฐวรา หงษ์สุวรรณ
เกิร์ลเฟรนด์ 14 ใสวัยกำลังเหมาะ
ครั้งที่ 13 (2546) อัสนี สุวรรณ
บิวตี้ฟูลบ็อกเซอร์
พิมพ์พรรณ ชลายนคุปต์
คืนบาปพรหมพิราม
เฉลิมพล ทิฆัมพรธีรวงศ์
แฟนฉัน
อลิสา ขจรไชยกุล
องคุลีมาล
ครั้งที่ 14 (2547) ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์
ไอ้ฟัก
แอน ทองประสม
เดอะเลตเตอร์ จดหมายรัก
อดุลย์ ดุลยรัตน์
โหมโรง
อาภาพร นครสวรรค์
บอดี้การ์ดหน้าเหลี่ยม
ครั้งที่ 15 (2548) ฉัตรชัย เปล่งพานิช
จอมขมังเวทย์
นวรัตน์ เตชะรัตนประเสริฐ
เอ๋อเหรอ
สนธยา ชิตมณี
มหาลัยเหมืองแร่
สาธิดา เขียวชะอุ่ม
เอ๋อเหรอ
ครั้งที่ 16 (2549) กฤษดา สุโกศล
13 เกมสยอง
รุ้งลาวัลย์ โทนะหงษา
หนูหิ่น เดอะมูฟวี่
นิรุตติ์ ศิริจรรยา
เพลงสุดท้าย
ปรางทอง ชั่งธรรม
อำมหิต พิศวาส
ครั้งที่ 17 (2550) อัครา อมาตยกุล
ไชยา
มาช่า วัฒนพานิช
แฝด
สนธยา ชิตมณี
ไชยา
เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์
รักแห่งสยาม
ครั้งที่ 18 (2551) อนันดา เอเวอริ่งแฮม
แฮปปี้เบิร์ธเดย์
รัชวิน วงศ์วิริยะ
รัก/สาม/เศร้า
สรพงษ์ ชาตรี
องค์บาก2
โฟกัส จีระกุล
ปิดเทอมใหญ่หัวใจว้าวุ่น
ครั้งที่ 19 (2552) ปรเมศร์ น้อยอ่ำ
สามชุก
ศิริน หอวัง
รถไฟฟ้า มาหานะเธอ
พิษณุ นิ่มสกุล
October Sonata รักที่รอคอย
ศันสนีย์ วัฒนานุกูล
ความจำสั้น แต่รักฉันยาว
ครั้งที่ 20 (2553) อนันดา เอเวอริ่งแฮม
ชั่วฟ้าดินสลาย
หนึ่งธิดา โสภณ
กวนมึนโฮ
สะอาด เปี่ยมพงศ์สานต์
นาคปรก
อินทิรา เจริญปุระ
นาคปรก
ครั้งที่ 21 (2554) นพชัย ชัยนาม
ฝนตกขึ้นฟ้า
ปิยธิดา วรมุสิก
ลัดดาแลนด์
วรรณศักดิ์ ศิริหล้า
ศพไม่เงียบ
สุทัตตา อุดมศิลป์
ลัดดาแลนด์
ครั้งที่ 22 (2555) เดวิด อัศวนนท์
เคาท์ดาวน์
อภิญญา สกุลเจริญสุข
ปาดังเบซาร์
ปรมะ อิ่มอโนทัย
It Gets Better ไม่ได้ขอให้มารัก
ปิยธิดา วรมุสิก
Together วันที่รัก
ครั้งที่ 23 (2556) ณเดชน์ คูกิมิยะ
คู่กรรม
พัชชา พูนพิริยะ
Mary Is Happy, Mary Is Happy
ณัฐสิทธิ์ โกฏิมนัสวนิชย์
ตั้งวง
ชนนิกานต์ เนตรจุ้ย
Mary Is Happy, Mary Is Happy
ครั้งที่ 24 (2557) จิรายุ ละอองมณี
ตุ๊กแกรักแป้งมาก
จรินทร์พร จุนเกียรติ
Timeline จดหมาย ความทรงจำ
พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง
แผลเก่า
อภิญญา สกุลเจริญสุข
ภวังค์รัก
ครั้งที่ 25 (2558) ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์
ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ
ดาวิกา โฮร์เน่
ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ
อิงครัต ดำรงศักดิ์กุล
พี่ชาย My Hero
วิโอเลต วอเทียร์
ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ
ครั้งที่ 26 (2559) ฉันทวิชช์ ธนะเสวี
แฟนเดย์ แฟนกันแค่วันเดียว
นิษฐา จิรยั่งยืน
แฟนเดย์ แฟนกันแค่วันเดียว
กฤษดา สุโกศล แคลปป์
ขุนพันธ์
เพ็ญพักตร์ ศิริกุล
ปั๊มน้ำมัน
ครั้งที่ 27 (2560) ชานน สันตินธรกุล
ฉลาดเกมส์โกง
ชุติมณฑน์ จึงเจริญสุขยิ่ง
ฉลาดเกมส์โกง
ธเนศ วรากุลนุเคราะห์
ฉลาดเกมส์โกง
พลอย ศรนรินทร์
สยามสแควร์
ครั้งที่ 28 (2561) ศุกลวัฒน์ คณารศ
มะลิลา
อุรัสยา เสปอร์บันด์
น้องพี่ที่รัก
อนุชิต สพันธุ์พงษ์
มะลิลา
สู่ขวัญ บูลกุล
โฮมสเตย์
ครั้งที่ 29 (2562-2563) ศดานนท์ ดุรงคเวโรจน์
ดิวไปด้วยกันนะ
ภัณฑิรา พิพิธยากร
แสงกระสือ
จิรายุ ตันตระกูล
จอมขมังเวทย์ 2020
แพรวา สุธรรมพงษ์
Where​ We​ Belong​ ที่ตรงนั้นมีฉันหรือเปล่า
ครั้งที่ 30 (2564) อิชณน์กร พึ่งเกียรติรัศมี
4 KINGS
นริลญา กุลมงคลเพชร
ร่างทรง
ณัฏฐ์ กิจจริต
4 KINGS
สวนีย์ อุทุมมา
ร่างทรง
ครั้งที่ 31 (2565) ณัฐรัตน์ นพรัตยาภรณ์
วันสุดท้าย..ก่อนบายเธอ
อุรัสยา เสปอร์บันด์
เร็วโหด..เหมือนโกรธเธอ
พชร จิราธิวัฒน์
รักจังวะ..ผิดจังหวะ
อสมาภรณ์ สมัครพันธ์
Blue Again บลู อะเกน
ครั้งที่ (ปีที่จัด) ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
ครั้งที่ 1 (2534) เวลาในขวดแก้ว
ครั้งที่ 2 (2535) อนึ่งคิดถึงพอสังเขป
ครั้งที่ 3 (2536) คนแซ่ลี้
ครั้งที่ 4 (2537) กาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้
ครั้งที่ 5 (2538) โลกทั้งใบให้นายคนเดียว
ครั้งที่ 6 (2539) เสียดาย
ครั้งที่ 7 (2540) 2499 อันธพาลครองเมือง
ครั้งที่ 8 (2541) รัก-ออกแบบไม่ได้
ครั้งที่ 9 (2542) นางนาก
ครั้งที่ 10 (2543)
ครั้งที่ 11 (2544) มนต์รักทรานซิสเตอร์
ครั้งที่ 12 (2545) 15 ค่ำ เดือน 11
ครั้งที่ 13 (2546) คืนบาปพรหมพิราม
ครั้งที่ 14 (2547) โหมโรง
ครั้งที่ 15 (2548) มหา'ลัยเหมืองแร่
ครั้งที่ 16 (2549) ก้านกล้วย
ครั้งที่ 17 (2550) รักแห่งสยาม
ครั้งที่ 18 (2551) Wonderful Town
ครั้งที่ 19 (2552) October Sonata รักที่รอคอย
ครั้งที่ 20 (2553) ชั่วฟ้าดินสลาย
ครั้งที่ 21 (2554) ลัดดาแลนด์
ครั้งที่ 22 (2555) Home ความรัก ความสุข ความทรงจำ
ครั้งที่ 23 (2556) ตั้งวง
ครั้งที่ 24 (2557) Concrete Clouds ภวังค์รัก
ครั้งที่ 25 (2558) Heart Attack ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ
ครั้งที่ 26 (2559) ดาวคะนอง
ครั้งที่ 27 (2560) ฉลาดเกมส์โกง
ครั้งที่ 28 (2561) มะลิลา
ครั้งที่ 29 (2562-2563) Where We Belong ที่ตรงนั้น​ มีฉันหรือเปล่า
ครั้งที่ 30 (2564) ร่างทรง
ครั้งที่ 31 (2565) วันสุดท้าย..ก่อนบายเธอ

สถิติรางวัล[แก้]

ภาพยนตร์ที่ชนะห้าสาขาใหญ่ (Big Five)[แก้]

ตัวหนา หมายถึงผู้ชนะ

ครั้งที่
ปี จำนวนการเข้าชิง จำนวนการชนะ ห้าสาขาใหญ่ ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2541 13 9 5 รัก-ออกแบบไม่ได้ ภิญโญ รู้ธรรม เรย์ แมคโดนัลด์ อมิตา ทาทา ยัง วานิช จรุงกิจอนันต์

ยุทธนา มุกดาสนิท

ชาคริต แย้มนาม มนัสวี กฤตานุกูลย์
ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2536 11 5 คนแซ่ลี้ ชูชัย องอาจชัย จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์ บุษกร พรวรรณะสิริเวช วิไลลักษณ์ พูลเจริญ
ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2538 8 5 โลกทั้งใบให้นายคนเดียว ราเชนทร์ ลิ้มตระกูล สมชาย เข็มกลัด สุทธิดา เกษมสันต์ ณ อยุธยา ตุลยสิทธิ์ นิยมกุล

มนต์ศักดิ์ เกษศิรินทร์เทพ

ศิวาภรณ์ พงษ์สุวรรณ

ครั้งที่ 25 พ.ศ. 2558 14 8 5 ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ ดาวิกา โฮร์เน่ นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์
ครั้งที่ 27 พ.ศ. 2560 16 12 5 ฉลาดเกมส์โกง นัฐวุฒิ พูนพิริยะ ชานน สันตินธรกุล ชุติมณฑน์ จึงเจริญสุขยิ่ง นัฐวุฒิ พูนพิริยะ

ธนีดา หาญทวีวัฒนา

วสุธร ปิยารมณ์

ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2537 7 3 กาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้ บัณฑิต ฤทธิถกล สันติสุข พรหมศิริ จินตหรา สุขพัฒน์ บัณฑิต ฤทธิถกล
ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2544 3 3 มนต์รักทรานซิสเตอร์ เป็นเอก รัตนเรือง ศุภกรณ์ กิจสุวรรณ สิริยากร พุกกะเวส เป็นเอก รัตนเรือง
ครั้งที่ 21 พ.ศ. 2554 15 6 3 ลัดดาแลนด์ โสภณ ศักดาพิศิษฏ์ สหรัถ สังคปรีชา ปิยธิดา วรมุสิก โสภณ ศักดาพิศิษฏ์

โสภณา เชาว์วิวัฒน์กุล

ครั้งที่ 20 พ.ศ. 2553 15 5 2 ชั่วฟ้าดินสลาย หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล
ครั้งที่ 17 พ.ศ. 2550 15 3 2 รักแห่งสยาม ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล สินจัย เปล่งพานิช ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล
ครั้งที่ 24 พ.ศ. 2557 11 3 2 Concrete Clouds​ ภวังค์รัก ลี ชาตะเมธีกุล อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม เจนสุดา ปานโต ลี ชาตะเมธีกุล
ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2534 2 1 กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน มานพ อุดมเดช สุรศักดิ์ วงษ์ไทย อังคณา ทิมดี มานพ อุดมเดช
ครั้งที่ 14 พ.ศ. 2547 11 2 1 เดอะเลตเตอร์ จดหมายรัก ผอูน จันทรศิริ อรรถพร​ ธีมากร แอน​ ทองประสม คงเดช​ จาตุรันต์รัศมี
ครั้งที่​ 15 พ.ศ. 2548 7 2 1 เพื่อนสนิท คมกฤษ ตรีวิมล ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ ศิรพันธ์ วัฒนจินดา นิธิศ ณพิชญสุทิน
ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2551 7 1 1 แฮปปี้เบิร์ธเดย์ พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม ฉายนันทน์ มโนมัยสันติภาพ คงเดช จาตุรันต์รัศมี
ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2551 6 1 1 รัก/สาม/เศร้า ยุทธเลิศ สิปปภาค อารักษ์ อมรศุภศิริ รัชวิน วงศ์วิริยะ ยุทธเลิศ สิปปภาค
ครั้งที่ 24 พ.ศ. 2557 13 6 1 คิดถึงวิทยา นิธิวัฒน์ ธราธร สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ นิธิวัฒน์ ธราธร

ทศพล​ ทิพย์ทินกร

ศุภฤกษ์​ นิงสานนท์

โสภณา​ เชาว์วิวัฒนกุล

ครั้งที่ 29 พ.ศ. 2562-2563 13 6 1 แสงกระสือ สิทธิศิริ มงคลสิริ โอบนิธิ วิวรรธนวรางค์ ภัณฑิรา​ พิพิธ​ยากร ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล
ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2538 4 0 คู่กรรม ยุทธนา มุกดาสนิท ธงไชย แมคอินไตย์ อาภาศิริ นิติพน ยุทธนา มุกดาสนิท

พันธุ์ธัมม์ ทองสังข์

นิพนธ์​ ผิวเณร

ครั้งที่ 29 พ.ศ. 2562-2563 15 1 0 ฮาวทูทิ้ง ทิ้งอย่างไรไม่ให้เหลือเธอ นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ ชุติมณฑน์ จึงเจริญสุขยิ่ง นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์
ครั้งที่​ 5 พ.ศ. 2538 0 0 ศยามล อภิชาติ หาลำเจียก จอห์นนี่ แอนโฟเน่ พรนภา เทพทินกร อภิชาติ หาลำเจียก
ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2541 0 0 เสือ โจรพันธุ์เสือ ธนิตย์ จิตนุกูล อำพล ลำพูน ศานันทินี​ พันธุ์ชูจิตร สมหมาย​ เลิศอุฬาร

เสรี พงษ์นิช

สิทธิพงษ์​ มัตตพนาวี

ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2546 12 0 0 เรื่องรัก น้อยนิด มหาศาล เป็นเอก รัตนเรือง ทาดาโนบุ อาซาโนะ สินิทธา บุญยศักดิ์ เป็นเอก รัตนเรือง

ปราบดา หยุ่น

ครั้งที่ 24 พ.ศ. 2557 11 0 0 ไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ เมษ ธราธร ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ ปรีชญา พงษ์ธนานิกร เมษ ธราธร

ชัยพฤกษ์​ เฉลิมพรพานิช

เบ็ญจมาพร​ สระบัว


นักแสดงที่ชนะสี่สาขาทางการแสดง (All Four Acting)[แก้]

ตัวหนา หมายถึงผู้ชนะ

ปี ครั้งที่ ภาพยนตร์ จำนวนการเข้าชิงทั้งหมด จำนวนการชนะทั้งหมด จำนวนการเข้าชิงสาขาการแสดง จำนวนการชนะสาขาการแสดง นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
พ.ศ. 2536 ครั้งที่ 3 มือปืน 2 สาละวิน 10 3 5 0 สรพงศ์ ชาตรี วิชุดา​ มงคลเขตต์
ฉัตรชัย เปล่งพานิช ปวีณา ชารีฟสกุล เข้าชิง
สิรคุปต์ เมทะนี
พ.ศ. 2537 ครั้งที่ 4 กาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้ 10 6 4 1 สันติสุข พรหมศิริ จินตหรา สุขพัฒน์ ด.ช. รณรงค์ บูรณัติ มาตัง จันทรานี ชนะ
พ.ศ. 2541 ครั้งที่ 8 รัก-ออกแบบไม่ได้ 13 9 7 3 เรย์ แมคโดนัลด์ อมิตา ทาทา ยัง คมสัน นันทจิต เพ็ญพักตร์ ศิริกุล ชนะ
ชาคริต แย้มนาม มนัสวี กฤตานุกูลย์ ศรีพรรณ ชื่นสมบูรณ์
พ.ศ. 2541 ครั้งที่ 8 เสือ โจรพันธุ์เสือ 10 4 5 1 อำพล ลำพูน ศานันทินี​ พันธุ์ชูจิตร ดอม เหตระกูล ศิริลักษณ์ เถลิงสุข เข้าชิง
ศุภกรณ์ กิจสุวรรณ
พ.ศ. 2542 ครั้งที่ 9 กำแพง 6 2 4 0 เกริกพล มัสยวาณิช เก็จมณี พิชัยรณรงค์สงคราม อรรถพร ธีมากร ธัญญา โสภณ ไม่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง
พ.ศ. 2544 ครั้งที่ 11 มนต์รักทรานซิสเตอร์ 7 3 4 1 ศุภกรณ์ กิจสุวรรณ สิริยากร พุกกะเวส อำพล รัตนวงศ์ พรทิพย์ ปาปะนัย ชนะ
พ.ศ. 2550 ครั้งที่ 17 รักแห่งสยาม 15 3 5 1 วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล สินจัย เปล่งพานิช ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ ชนะ
กัญญา รัตนเพชร์
พ.ศ. 2553 ครั้งที่ 20 ชั่วฟ้าดินสลาย 15 5 4 1 อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ ธีรพงศ์ เหลียวรักวงศ์ ดารณีนุช โพธิปิติ ชนะ
พ.ศ. 2557 ครั้งที่ 24 Concrete Clouds​ ภวังค์รัก 11 3 4 1 อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม เจนสุดา ปานโต ประวิทย์ ฮันสเตน อภิญญา สกุลเจริญสุข ชนะ
พ.ศ. 2557 ครั้งที่ 24 แผลเก่า 12 2 4 1 ชัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ต ดาวิกา โฮร์เน่ พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง สินจัย เปล่งพานิช เข้าชิง
พ.ศ. 2558 ครั้งที่ 25 ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ 14 8 4 3 ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ ดาวิกา โฮร์เน่ ต่อพงศ์ จันทบุปผา วิโอเลต วอเทียร์ ชนะ
พ.ศ. 2558 ครั้งที่ 25 เมย์ไหน..ไฟแรงเฟร่อ 13 0 4 0 ธิติ มหาโยธารักษ์ สุทัตตา อุดมศิลป์ ธนภพ ลีรัตนขจร นรีกุล เกตุประภากร ไม่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง
พ.ศ. 2560 ครั้งที่ 27 ฉลาดเกมส์โกง 16 12 5 3 ชานน สันตินธรกุล ชุติมณฑน์ จึงเจริญสุขยิ่ง ธเนศ วรากุลนุเคราะห์ อิษยา ฮอสุวรรณ ชนะ
ธีรดนย์ ศุภพันธุ์ภิญโญ
พ.ศ. 2561 ครั้งที่ 28 Samui​ Song​ ไม่มีสมุยสำหรับเธอ 9 0 4 0 เดวิด อัศวนนท์ เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ วิทยา ปานศรีงาม ปาลิ​กา​ สุวรรณ​รักษ์​ เข้าชิง
พ.ศ. 2562-2563 ครั้งที่ 29 ฮาวทูทิ้ง ทิ้งอย่างไรไม่ให้เหลือเธอ 15 5 ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ ชุติมณฑน์ จึงเจริญสุขยิ่ง ถิรวัฒน์ โงสว่าง ษริกา สารทศิลป์ศุภา เข้าชิง
อาภาศิริ จันทรัศมี


ที่สุด (Superlative)[แก้]

สถิติสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม[แก้]

ที่สุด ภาพยนตร์​ จำนวน ปี หมายเหตุ
ชนะมากที่สุด ร่างทรง 13​ รางวัล พ.ศ. 2564 เข้าชิง​ 16​ รางวัล
เข้าชิงมากที่สุด ฉลาดเกมส์โกง 16​ รางวัล พ.ศ. 2560 ชนะ​ 12​ รางวัล
ร่างทรง พ.ศ. 2564 ชนะ 13 รางวีล
ความยาวของภาพยนตร์ที่ชนะ ชั่วฟ้าดินสลาย 3 ชั่วโมง​ 10 นาที พ.ศ.​ 2553 เข้าชิง​ 14

รางวัล

ชนะ​ 5​ รางวัล

ความยาวของภาพยนตร์​ที่เข้าชิง พลเมืองจูหลิง 3 ชั่วโมง​ 42​ นาที พ.ศ.​ 2552 เข้าชิง 3 รางวัล

ชนะ​ 0​ รางวัล

ความสั้นของภาพยนตร์​ที่ชนะ ตั้งวง 1 ชั่วโมง​ 26 นาที พ.ศ.​ 2556 เข้าชิง 10 รางวัล

ชนะ 4​ รางวัล

ความสั้นของ​ภาพยนตร์​ที่​เข้าชิง Die Tomorrow 1​ ชั่วโมง​ 15​ นาที พ.ศ. 2560 เข้าชิง 12​ รางวัล

ชนะ 0​ รางวัล


สาขาผู้กำกับ​การแสดง​ยอดเยี่ยม[แก้]

ที่สุด รายชื่อ จำนวน ปี หมายเหตุ
ชนะมากที่สุด หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล 2 พ.ศ. 2534 , พ.ศ. 2539 เข้าชิง 4​ ครั้ง
บัณฑิต ฤทธิ์ถกล พ.ศ. 2535 ,

พ.ศ. 2537

เข้าชิง 4​ ครั้ง
นนทรีย์ นิมิบุตร พ.ศ. 2540 , พ.ศ.​ 2542 เข้าชิง 4​ ครั้ง
จิระ มะลิกุล พ.ศ.​ 2545​ ,

พ.ศ. 2548

เข้าชิง 3 ครั้ง
ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล พ.ศ.​ 2550 ,

พ.ศ.​ 2555

เข้าชิง 4​ ครั้ง
คงเดช จาตุรันต์รัศมี พ.ศ.​ 2556 , พ.ศ. 2562 - 2563 เข้าชิง​ 5 ครั้ง
เข้าชิงมากที่สุด เป็นเอก รัตนเรือง 7 พ.ศ.​ 2540​, พ.ศ.​ 2544​, พ.ศ.​ 2546​, พ.ศ.​ 2550​, พ.ศ.​ 2552​, พ.ศ.​ 2554,​ พ.ศ.​ 2556 ชนะ​ 1​ ครั้ง
อายุมากสุดที่ชนะ หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล 69​ ปี พ.ศ. 2565 มายาพิศวง
อายุมากสุดที่ได้เข้าชิง
อายุน้อยสุดที่ชนะ ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล 26​ ปี พ.ศ.​ 2550 รักแห่งสยาม
อายุน้อยสุดที่เข้าชิง 25​ ปี พ.ศ.​ 2549 13 เกมสยอง
บรรจง ปิสัญธนะกูล พ.ศ.​ 2547 ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ
ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ

สาขานักแสดงนำและสมทบยอดเยี่ยม[แก้]

ที่สุด รายชื่อ จำนวน ปี หมายเหตุ
ชนะมากที่สุด ธัญญา โสภณ 2 พ.ศ. 2536 , พ.ศ. 2539 เข้าชิง 3 ครั้ง นำหญิง 1 ครั้ง สมทบหญิง 2 ครั้ง
วิจิตรา ตริยะกุล พ.ศ. 2537 , พ.ศ. 2540 เข้าชิง 2 ครั้ง สมทบหญิง 2 ครั้ง
เรย์ แมคโดนัลด์ พ.ศ. 2540 , พ.ศ. 2541 เข้าชิง 5 ครั้ง นำชาย 3 ครั้ง และ สมทบชาย 2 ครั้ง
สนธยา ชิตมณี พ.ศ. 2548 , พ.ศ. 2550 เข้าชิง 2 ครั้ง สมทบชาย 2 ครั้ง
กฤษดา สุโกศล แคลปป์ พ.ศ.​ 2549​, พ.ศ.​ 2559 เข้าชิง​ 4​ ครั้ง

นำชาย​ 3​ ครั้ง

สมทบชาย​ 1​ครั้ง

อนันดา เอเวอริ่งแฮม พ.ศ. 2551 , พ.ศ. 2553 เข้าชิง 8 ครั้ง นำชาย 7 ครั้ง สมทบชาย 1 ครั้ง
อภิญญา สกุลเจริญสุข พ.ศ. 2555 , พ.ศ. 2557 เข้าชิง 8 ครั้ง นำหญิง 4 ครั้ง สมทบหญิง 4 ครั้ง
ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ พ.ศ. 2548 , พ.ศ. 2555 , พ.ศ. 2557 , พ.ศ. 2558 , พ.ศ. 2560 , พ.ศ. 2561 , พ.ศ. 2562 เข้าชิง 8 ครั้ง นำชาย 7 ครั้ง สมทบชาย 1 ครั้ง
อุรัสยา เสปอร์บันด์ พ.ศ. 2561 , พ.ศ. 2565 เข้าชิง 2 ครั้ง นำหญิง 2 ครั้ง
เข้าชิงมากที่สุด สรพงศ์ ชาตรี 8 พ.ศ. 2534 , พ.ศ. 2536 ,

พ.ศ. 2537 , พ.ศ. 2539 ,

พ.ศ. 2545 , พ.ศ. 2546 ,

พ.ศ. 2551

นำชาย 3 ครั้ง สมทบชาย 5 ครั้ง

ปี พ.ศ. 2551 เข้าชิง 2 เรื่อง

ซึ่งได้รับรางวัล 1 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2551

จินตหรา สุขพัฒน์ พ.ศ. 2534 , พ.ศ. 2535 ,

พ.ศ. 2536 , พ.ศ. 2537 ,

พ.ศ. 2538 , พ.ศ. 2544 ,

พ.ศ. 2549

นำหญิง 6 ครั้ง สมทบหญิง 2 ครั้ง

ปี พ.ศ. 2537 เข้าชิง 2 เรื่อง

ซึ่งได้รับรางวัล 1 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2537

อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม พ.ศ. 2550 , พ.ศ. 2551 , พ.ศ. 2553 , พ.ศ. 2555 , พ.ศ. 2557 , พ.ศ. 2559 , พ.ศ. 2564 นำชาย 7 ครั้ง สมทบชาย 1 ครั้ง

ปี พ.ศ. 2553 เข้าชิง 2 เรื่อง ซึ่งได้รับรางวัล 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2551 , พ.ศ. 2553

ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ พ.ศ. 2548 , พ.ศ. 2555 , พ.ศ. 2557 , พ.ศ. 2558 , พ.ศ. 2560 , พ.ศ. 2561 , พ.ศ. 2562 นำชาย 7 ครั้ง สมทบชาย 1 ครั้ง

ปี พ.ศ. 2560 เข้าชิง 2 เรื่อง

ซึ่งได้รับรางวัล 1 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2558

อภิญญา สกุลเจริญสุข พ.ศ. 2550 , พ.ศ. 2554 , พ.ศ. 2555 , พ.ศ. 2556 , พ.ศ. 2557 , พ.ศ. 2559 , พ.ศ. 2565 นำหญิง 4 ครั้ง สมทบหญิง 4 ครั้ง

ปี 2559 เข้าชิง 2 เรื่อง ซึ่งได้รับรางวัล 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2555 , พ.ศ. 2557 บทนำและสมทบ ตามลำดับปี

สุพรรณหงส์เกียรติยศ[แก้]

เป็นรางวัลที่มอบให้กับบุคลาการที่สร้างเกียรติคุณแก่อุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยตั้งแต่อดีต ถึง ปัจจุบัน

ลำดับ ปีที่จัด ชื่อ-สกุล อายุ (ในปีที่ได้รับรางวัล) หมายเหตุ
1 ครั้งที่ 10 พ.ศ. 2543 เพชรา เชาวราษฎร์ 57 *ในปีนั้นใช้ชื่อ รางวัลสรรพสาตรศุภกิจ
2 ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2544 สมบูรณ์สุข นิยมศิริ 69
3 ครั้งที่ 12 พ.ศ. 2545 ดอกดิน กัญญามาลย์ 78
4 ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2546 ฉลอง ภักดีวิจิตร 72
5 ครั้งที่ 14 พ.ศ. 2547 เชิด ทรงศรี 73
6 ครั้งที่ 15 พ.ศ. 2548 หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล 63
7 ครั้งที่ 16 พ.ศ. 2549 ชาลี อินทรวิจิตร 83
8 ชรินทร์ นันทนาคร 73
9 ครั้งที่ 17 พ.ศ. 2550 พิศมัย วิไลศักดิ์ 68
10 ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2551 โดม สุขวงศ์ 57
11 ครั้งที่ 19 พ.ศ. 2552 เกชา เปลี่ยนวิถี 83
12 ครั้งที่ 20 พ.ศ. 2553 สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ
13 เจริญ เอี่ยมพึ่งพร 60
14 ครั้งที่ 21 พ.ศ. 2554 อดุลย์ ดุลยรัตน์ 79
15 ครั้งที่ 22 พ.ศ. 2555 ปง อัศวินิกุล 82
16 ครั้งที่ 23 พ.ศ. 2556 จาฤก กัลย์จาฤก 86
17 ครั้งที่ 24 พ.ศ. 2557 สมบัติ เมทะนี 77
18 ครั้งที่ 25 พ.ศ. 2558 จรัล เพ็ชรเจริญ 83
19 ครั้งที่ 26 พ.ศ. 2559 ยอดชาย เมฆสุวรรณ 71
20 ครั้งที่ 27 พ.ศ. 2560 สรพงศ์ ชาตรี 67
21 ครั้งที่ 28 พ.ศ. 2561 รอง เค้ามูลคดี 72
22 ครั้งที่ 29 พ.ศ. 2562 - 2563 กรุงศรีวิไล สุทินเผือก 75
23 ครั้งที่ 30 พ.ศ. 2564 หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล 69 ถึงแก่กรรมก่อนวันงาน
24 ครั้งที่ 31 พ.ศ. 2565 นคร วีระประวัติ

อ้างอิง[แก้]

  1. ณัฐนันท์ เฉลิมพนัส (27 ธันวาคม 2562). "สรุปแล้ว รางวัลสุพรรณหงส์ปี 2562 ใช้เกณฑ์เดิมเลือกภาพยนตร์เข้าชิงรางวัล". เดอะสแตนดาร์ด. สืบค้นเมื่อ 31 ธันวาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  2. https://thematter.co/brief/200278/200278. {{cite news}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]