ชุดตัวอักษรแนบาทีอา
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก อักษรนาบาทาเอียน)
อักษรแนบาทีอา | |
---|---|
ชนิด | |
ช่วงยุค | 2 ศตวรรษก่อนคริสต์ศักราช ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 |
ทิศทาง | ขวาไปซ้าย |
ภาษาพูด | ภาษาแนบาทีอา |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | |
ระบบลูก | อาหรับ |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Nbat (159), Nabataean |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Nabataean |
ช่วงยูนิโคด | U+10880-U+108AF Final Accepted Script Proposal |
ชุดตัวอักษรแนบาทีอา เป็นชุดของตัวอักษรไร้สระที่ใช้โดยแนบาทีอาในศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักราช[2][3] โดยจารึกสำคัญถูกพบที่เปตรา (ปัจจุบันอยู่ในประเทศจอร์แดน), คาบสมุทรไซนาย (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอียิปต์) และแหล่งโบราณคดีอื่น ๆ เช่น อัฟดัต (ปัจจุบันอยู่ในประเทศอิสราเอล) และมะดาอินศอเลียะห์ในประเทศซาอุดีอาระเบีย
ประวัติ
[แก้]อักษรนี้สืบทอดมาจากชุดตัวอักษรแอราเมอิก โดยรูปแบบโค้งมนของอักษรแนบาทีอาทำให้ถูกพัฒนาเป็นอักษรอาหรับในคริสต์ศตวรรษที่ 4[3]
เปรียบเทียบอักษร
[แก้]อักษรแนบาทีอา | ชื่อ | อักษรอาหรับ | อักษรซีรีแอก | อักษรฮีบรู |
---|---|---|---|---|
อาลาป/อะลีฟ | ا | ܐ | א | |
เบธ/บา | ب | ܒ | ב | |
กามัล/ญีม | ج | ܓ | ג | |
ดาลัธ/ดัล | ﺩ | ܕ | ד | |
เฮฮ์ | ه | ܗ | ה | |
วาว | ﻭ | ܘ | ו | |
ไซน์ | ﺯ | ܙ | ז | |
ฮา/เฮท | ح | ܚ | ח | |
เตท | ﻁ | ܛ | ט | |
ย้อด/ยา | ي | ܝ | י | |
กาฟ | ك | ܟ | כ / ך | |
ลาเมท/ลาม | ل | ܠ | ל | |
มีม | م | ܡ | מ / ם | |
นูน | ن | ܢ | נ / ן | |
ซิมกัต | (ไม่มี) | ܣ | ס | |
เอ/ไอน์ | ع | ܥ | ע | |
เป/ฟา | ف | ܦ | פ / ף | |
ศาเฎ/ศอด | ص | ܨ | צ / ץ | |
กอฟ | ﻕ | ܩ | ק | |
เรช/รอ | ﺭ | ܪ | ר | |
ชีน/ซีน | س | ܫ | ש | |
เทา/ตา | ﺕ | ܬ | ת |
ยูนิโคด
[แก้]อักษรแนบาทีอา (U+10880-U+108AF) ถูกเพิ่มในยูนิโคดเมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ.2014 ในรุ่น 7.0.
แม่แบบ:Unicode chart Nabataean
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Himelfarb, Elizabeth J. "First Alphabet Found in Egypt", Archaeology 53, Issue 1 (Jan./Feb. 2000): 21.
- ↑ Everson, Michael (2010-12-09). "N3969: Proposal for encoding the Nabataean script in the SMP of the UCS" (PDF). Working Group Document, ISO/IEC JTC1/SC2/WG2.
- ↑ 3.0 3.1 Omniglot.