สงครามต่อเนื่อง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงครามต่อเนื่อง
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออก ในสงครามโลกครั้งที่สอง

ทหารฟินแลนด์ที่แนวป้องกัน VT ในช่วงการรุก Vyborg–Petrozavodsk ของโซเวียตในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1944
วันที่25 มิถุนายน ค.ศ. 1941 – 19 กันยายน ค.ศ. 1944
(3 ปี 2 เดือน 3 สัปดาห์ 4 วัน)
สถานที่
ผล โซเวียตชนะ[2][3][4][5]
การสงบศึกมอสโก
ฟินแลนด์ยังคงรักษาความเป็นเอกราชไว้ได้[6]
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
ยกดินแดน Petsamo และให้เช่าคาบสมุทร Porkkala แก่สหภาพโซเวียต
คู่สงคราม
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กำลัง
528,000 Finns[Note 3]
220,000 Germans
650,000[Note 4]
ความสูญเสีย
  • Finnish
  • 63,204 dead or missing
  • 158,000 wounded
  • 1,129 civilian deaths[10]
  • 2,377–3,500 captured[11]
  • 225,000 total casualties


  • German
  • 14,000 dead or missing
  • 37,000 wounded[7]
  • 51,000 total casualties
  • Soviet
  • 241,000 dead or missing
  • 385,000 wounded
  • 4,361 civilian deaths[Note 5]
  • 64,000 captured[14]
  • 700,000 total casualties

สงครามต่อเนื่อง ประกอบด้วยสงครามระหว่างฟินแลนด์และสหภาพโซเวียต ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1941 ถึง ค.ศ. 1944 สงครามต่อเนื่องได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อสิบห้าเดือนหลังสงครามฤดูหนาวยุติลง ซึ่งเป็นการสู้รบระหว่างฟินแลนด์และสหภาพโซเวียต ในสหภาพโซเวียต สงครามครั้งนี้ได้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของมหาสงครามของผู้รักชาติ เยอรมันได้ถือว่าเป็นปฏิบัติการในภูมิภาคนี้เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามสงครามโดยรวมในแนวรบด้านตะวันออกและฟินแลนด์ให้การสนับสนุนยุทธภัณฑ์ที่สำคัญและความร่วมมือทางทหาร

การทำสงครามระหว่างสหภาพโซเวียตและฟินแลนด์ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ซึ่งเป็นวันที่เยอรมนีได้เปิดฉากเข้ารุกรานสหภาพโซเวียต การเปิดสงครามได้เริ่มด้วยการโจมตีทางอากาศของโซเวียตเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ภายหลังฟินแลนด์ได้เริ่มปฏิบัติการเพื่อปลดเปลื้องสงครามฤดูหนาวครั้งก่อนที่ต้องเสียดินแดน Karelian Isthmus และ Ladoga Karelia ให้แก่สหภาพโซเวียต และเข้ายึดครองคาเรเลียตะวันออกในเดือนกันยายน ค.ศ. 1941 บน Karelian Isthmus ฟินแลนด์ได้หยุดการรุกรานเพียง 30 กม.จากเลนินกราด ที่ก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเป็นชายแดนระหว่างสหภาพโซเวียตและฟินแลนด์ ในปี ค.ศ. 1944 กองทัพอากาศโซเวียตได้ดำเนินการโจมตีทางอากาศในเฮลซิงกิและเมืองอื่นๆที่สำคัญของฟินแลนด์

ในที่สุด ช่วงกลางของปี ค.ศ. 1944 โซเวียตได้เข้ารุกทางยุทธศาสตร์สู่ฟินแลนด์จากดินแดนส่วนใหญ่ที่ได้รับมาในช่วงสงคราม แต่กองทัพฟินแลนด์ภายหลังที่ได้ทำให้การรุกต้องหยุดชะงักลงในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1944 การสู้รบได้ยุติลงเมื่อวันที่ 5 กันยายนและมีผลตามมาด้วยการสงบศึกมอสโกเมื่อวันที่ 19 กันยายน ตามมาด้วยการขับไล่กองทัพเยอรมันออกจากฟินเลนด์ไปที่นอร์เวย์ ใน สงครามแลปแลนด์ จนถึงเดือนเมษายน ค.ศ.1945 และลงนามอีกครั้งใน สนธิสัญญาสันติภาพปารีส ค.ศ. 1947 ได้สรุปสงครามอย่างเป็นทางการแล้ว ฟินแลนด์ต้องยกให้เขต Pechengsky แก่สหภาพโซเวียต ให้เช่าคาบสมุทร Porkkala แก่พวกเขา และจ่ายค่าชดเชยสงคราม ในขณะเดียวกันที่ยังรักษาความเป็นเอกราชไว้ได้

หมายเหตุ[แก้]

  1. Italian participation was limited to the four motor torpedo boats of the XII Squadriglia MAS serving in the international Naval Detachment K on Lake Ladoga during the summer and autumn of 1942.
  2. The United Kingdom formally declared war on Finland on 6 December 1941 along with four Commonwealth states. Before that, the British conducted a carrier raid at Petsamo[1] on 31 July 1941 and deployed the No. 151 Wing RAF under Soviet command to support air raids in the Murmansk area and train Soviet crews for roughly a month from September to October in 1941.
  3. In 1941, around 500,000 soldiers. In August 1944, around 528,000 soldiers. Army strength varied around 260,000–360,000, Air Force 8,000–22,000, Navy 14,000–40,000 and directly under headquarters 15,000–36,000. In addition, some people were obliged by law to provide supporting tasks, such as 19,000 in labour groups and 25,000 men in air raid defence (e.g. fire brigades, air-raid shelter maintenance), and 43,000 women volunteers in various non-military tasks (e.g. clerks, radio operators, air observers, supply).[7]
  4. In June 1941, around 450,390 soldiers.[8] In June 1944, around 650,000 soldiers[9]
  5. Not including the estimated 632,253–1,042,000 civilian deaths during the Siege of Leningrad.[12][13]

อ้างอิง[แก้]

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ pvfkvi
  2. Mouritzen, Hans (1997). External Danger and Democracy: Old Nordic Lessons and New European Challenges. Dartmouth. p. 35. ISBN 1855218852.
  3. Nordstrom, Byron (2000). Scandinavia Since 1500. Minneapolis: University of Minnesota Press. p. 316. ISBN 978-0816620982.
  4. Morgan, Kevin; Cohen, Gidon; Flinn, Andrew (2005). Agents of the Revolution: New Biographical Approaches to the History of International Communism in the Age of Lenin and Stalin. Bern: Peter Lang. p. 246. ISBN 978-3039100750.
  5. Kevin Morgan; Gidon Cohen; Andrew Flinn (2005). Agents of the Revolution: New Biographical Approaches to the History of International Communism in the Age of Lenin and Stalin. Peter Lang. p. 246. ISBN 978-3-03910-075-0.
  6. Provis, Peter (1999). "Nordic Notes: Finnish achievement in the Continuation War and after". Celsius Centre for Scandinavian Studies. ISSN 1442-5165. Archived from the original on 2013-11-03.
  7. 7.0 7.1 Maanpuolustuskorkeakoulun historian laitos, Jatkosodan historia 1–6 ("The History of the Continuation War, 1–6"), 1994
  8. Кривошеев, บ.ก. (2001). Россия и СССР в войнах ХХ века (ภาษารัสเซีย). Олма-Пресс. pp. 269–71. ISBN 5224015154.
  9. Manninen (1994) pp. 277–82
  10. Kurenmaa, Pekka; Lentilä, Riitta (2005). "Sodan tappiot". ใน Leskinen, Jari; Juutilainen, Antti (บ.ก.). Jatkosodan pikkujättiläinen (ภาษาฟินแลนด์). WSOY. pp. 1150–1162. ISBN 9510286907.
  11. Malmi, Timo (2005). "Jatkosodan suomalaiset sotavangit". ใน Leskinen, Jari; Juutilainen, Antti (บ.ก.). Jatkosodan pikkujättiläinen (ภาษาฟินแลนด์) (1st ed.). Werner Söderström Osakeyhtiö. pp. 1022–32. ISBN 9510286907.
  12. "фонд 8357, опись 6, дело 1108". Сведения городской комиссии по установлению и расследованию злодеяний немецко-фашистских захватчиков и их сообщников о числе погибшего в Ленинграде населения (ภาษารัสเซีย). Центральный государственный архив СПб. pp. 46–47.
  13. Glantz, David (2001). The Siege of Leningrad 1941–44: 900 Days of Terror. Zenith Press, Osceola, WI. p. 179. ISBN 0760309418.
  14. Finland at War p. 320