ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาจิ่งเผาะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
| fam3 = [[ภาษากลุ่มจิ่งเผาะ-กอนยัก-โบโด]]
| fam3 = [[ภาษากลุ่มจิ่งเผาะ-กอนยัก-โบโด]]
| fam4 = [[ภาษากลุ่มจิ่งเผาะ-ลูอิช]]
| fam4 = [[ภาษากลุ่มจิ่งเผาะ-ลูอิช]]
|script=[[Latin alphabet]], [[Burmese alphabet]]
|script=[[อักษรละติน]], [[อักษรพม่า]]
|iso2=kac
|iso2=kac
|lc1=kac|ld1=จิ่งเผาะ
|lc1=kac|ld1=Jingpho
|lc2=sgp|ld2=Singpho
|lc2=sgp|ld2=สิงเผาะ
|lc3=tcl|ld3=Taman
|lc3=tcl|ld3=ตามาน
}}
}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:58, 22 กุมภาพันธ์ 2564

ภาษาจิ่งเผาะ
ประเทศที่มีการพูดพม่า, จีน
ภูมิภาครัฐกะชีน, เขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิ่งเผาะ เต๋อหง, ตำบลหยิงเจียง
จำนวนผู้พูด900,000[1]  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรละติน, อักษรพม่า
รหัสภาษา
ISO 639-2kac
ISO 639-3มีหลากหลาย:
kac – จิ่งเผาะ
sgp – สิงเผาะ
tcl – ตามาน

ภาษาจิ่งเผาะ (หรือภาษาจิ่งผ่อ ภาษาจิ่งเปา ภาษาฉิ่งโป ภาษากะชีน) ใช้พูดในรัฐกะชีน ประเทศพม่า และในจีน จนบางครั้งมีผู้เรียกว่าภาษากะชีน เนื่องจากเป็นภาษาของชนชาติจิ่งเผาะ ซึ่งเป็นชนชาติหลักของกลุ่มชนชาติกะชีน นอกจากนี้มีผู้พูดในจีนอีกราว 40.000 คน เมื่อพ.ศ. 2542 โดยเฉพาะที่เขตเต๋อหงรวมมีผู้พูดทั้งหมดราว 900,000 คน

ภาษาจิ่งเผาะเป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขาจิ่งเผาะ-โบโด-โกนยัก เป็นภาษามีวรรณยุกต์ ชาวไทตุรงในรัฐอัสสัมพูดภาษาจิ่งเผาะสำเนียงที่ผสมกับภาษาไทซึ่งเรียกว่าภาษาสิงผ่อ ระบบกริยาในภาษาจิ่งเผาะมีการแสดงเครื่องหมายของประธานและกรรมตรง

อ้างอิง