ภาษาว้า
ภาษาว้า | |
---|---|
ประเทศที่มีการพูด | พม่า จีน |
จำนวนผู้พูด | 1,188,000 คน (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | prk |
ภาษาว้า (Wa language) มีผู้พูดทั้งหมด 1,188,000 คน พบในพม่า 922,000 คน (พ.ศ. 2551) โดยมี 415,000 คน พูดได้ภาษาเดียว ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง พบในทางเหนือของรัฐฉาน บริเวณตอนบนของแม่น้ำสาละวิน และทางตะวันออกของรัฐฉานแถบเชียงตุง พบในจีน 266,000 คน (พ.ศ. 2543) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของยูนนาน จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรเหนือ สาขาย่อยปะหล่อง มีไบเบิลที่เขียนด้วยภาษาว้า มีสำเนียงหลัก 3 สำเนียง
- พม่า
ได้สำรวจว่าคนพม่าพูดว้าประมาณ 500,000คนพูดว้าในพม่า จำนวนน้อยยังใช้ภาษาพูดว้ายังอาศัยอยู่ที่ ตองยี, มัณฑะเลและย่างกุ้ง
- จีน
ได้สำรวจในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนที่มีคนใช้ภาษาว้าประมาณ 322,000 คน ซึ่อยู่ใน
- Ximeng มณฑล (83% จากทั้งหมด)
- Cangyuan มณฑล (71% จากทั้งหมด)
- Menglian มณฑล (กว่า 25% จากทั้งหมด; กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ รวมถึงไดและชาวลาหู่)
- Gengma มณฑล
- Shuangjiang มณฑล
- Lancang มณฑล
อ้างอิง[แก้]
- Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.
![]() |
บทความเกี่ยวกับภาษานี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ภาษา |