ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท."

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: ปรับปรุงเนื้อหาครั้งใหญ่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ 2
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ 2
|ชื่อหน่วยงาน = บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด
|ชื่อหน่วยงาน = บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด
บรรทัด 74: บรรทัด 73:
}}
}}


'''บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด''' เป็นหน่วยงาน[[รัฐวิสาหกิจ]] ในสังกัด[[กระทรวงคมนาคม]] มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการรถไฟฟ้าต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ การรถไฟแห่งประเทศไทย
'''บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด''' เป็นหน่วยงาน[[รัฐวิสาหกิจ]] ในสังกัด[[กระทรวงคมนาคม]] มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการรถไฟฟ้าต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] เช่น [[รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] และ[[รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดง|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง]]อีก 2 สาย


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==


บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด เดิมชื่อ บริษัท เดินรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด โดยจัดตั้งขึ้นเริ่มแรกในนามบริษัทลูกของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] เพื่อดำเนินการ โครงการ[[รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] ในเชิงพาณิชย์ โดยไม่ให้ขัดกับพระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2543 ที่บริษัทเดินรถไฟฟ้า จะต้องเป็นเอกชนอย่างเดียวเท่านั้น โดยความเห็นในการจัดตั้งบริษัทนี้ ส่วนหนึ่งมาจาก ความไม่ยินยอมของคณะกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย หรือ บอร์ด ร.ฟ.ท. ที่ลงความเห็นไม่เห็นด้วยกับข้อกำหนดของ พรบ. และแสดงทีท่าว่าไม่ยินยอมที่จะเปิดประมูลโครงการรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในรูปแบบการว่าจ้างให้เอกชนเข้ามาเดินรถ และต้องการที่จะนำโครงการมาดำเนินการด้วยตนเอง
บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด เดิมชื่อ บริษัท เดินรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด โดยจัดตั้งขึ้นเริ่มแรกในนามบริษัทลูกของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] เพื่อดำเนินการ โครงการ[[รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] ในเชิงพาณิชย์ โดยไม่ให้ขัดกับพระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2543 ที่บริษัทเดินรถไฟฟ้าจะต้องเป็นเอกชนอย่างเดียวเท่านั้น โดยความเห็นในการจัดตั้งบริษัทนี้ ส่วนหนึ่งมาจากความไม่ยินยอมของคณะกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย หรือ บอร์ด ร.ฟ.ท. ที่ลงความเห็นไม่เห็นด้วยกับข้อกำหนดของ พรบ. และแสดงทีท่าว่าไม่ยินยอมที่จะเปิดประมูลโครงการรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในรูปแบบการว่าจ้างให้เอกชนเข้ามาเดินรถ และต้องการที่จะนำโครงการมาดำเนินการด้วยตนเอง


หลังจากจัดตั้งบริษัทได้ไม่นาน ก็เกิดปัญหาหลายๆ อย่างตามมา ทั้งผู้รับเหมาโครงการก่อสร้าง และบริษัทเจ้าของรถไฟฟ้าที่รับผิดชอบอยู่ในขณะนั้น ไม่ยินยอมลงนามมอบอำนาจให้ การรถไฟแห่งประเทศไทย และ บริษัท เดินรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด มาดำเนินโครงการต่อไป เพราะเห็นว่าเป็นบริษัทที่จัดตั้งขึ้นมาอย่างฉุกเฉิน และยังไม่มีประสบการณ์พอที่จะสามารถดำเนินการโครงการรถไฟฟ้าได้ด้วยตนเอง การรถไฟแห่งประเทศไทยจึงต้องใช้เวลาอย่างมากในการไกล่เกลี่ยกับผู้รับเหมาโครงการก่อสร้าง จนในที่สุดก็ลงความเห็นที่จะจัดตั้ง บริษัท เดินรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ขึ้น โดยมีบริษัท Deutsche Bahn AG จำกัด จากประเทศเยอรมนี เป็นผู้ดูแล โดยมีทุนจดเพียงทะเบียน 1 ล้านบาท เท่านั้น
หลังจากจัดตั้งบริษัทได้ไม่นานก็เกิดปัญหาหลายๆ อย่างตามมา ทั้งผู้รับเหมาโครงการก่อสร้าง และบริษัทเจ้าของรถไฟฟ้าที่รับผิดชอบอยู่ในขณะนั้น ไม่ยินยอมลงนามมอบอำนาจให้การรถไฟแห่งประเทศไทย และ บริษัท เดินรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด มาดำเนินโครงการต่อไป เพราะเห็นว่าเป็นบริษัทที่จัดตั้งขึ้นมาอย่างฉุกเฉิน และยังไม่มีประสบการณ์พอที่จะสามารถดำเนินการโครงการรถไฟฟ้าได้ด้วยตนเอง การรถไฟแห่งประเทศไทยจึงต้องใช้เวลาอย่างมากในการไกล่เกลี่ยกับผู้รับเหมาโครงการก่อสร้าง จนในที่สุดก็ลงความเห็นที่จะจัดตั้ง บริษัท เดินรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ขึ้น โดยมีบริษัท Deutsche Bahn AG จำกัด จากประเทศเยอรมนี เป็นผู้ดูแล โดยมีทุนจดเพียงทะเบียน 1 ล้านบาท เท่านั้น


หลังจากเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ในวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2555 คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ได้เห็นชอบที่จะยก บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ออกมาเป็นรัฐวิสาหกิจแห่งใหม่ โดยจัดให้อยู่ในสังกัดกระทรวงคมนาคม โดยมีกระทรวงการคลังถือหุ้น 100% เต็ม ทั้งนี้กระทรวงการคลังมีประสงค์เพื่อที่จะปรับสภาพการเงินภายในบริษัทให้คล่องตัวมากขึ้น และให้บริษัท สามารถเข้าแข่งขันในเส้นทางกับเอกชนรายอื่นๆ ได้
หลังจากเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ในวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2555 [[สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ|คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ]] ได้เห็นชอบที่จะยก บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ออกมาเป็นรัฐวิสาหกิจแห่งใหม่ โดยจัดให้อยู่ในสังกัด[[กระทรวงคมนาคม]] โดยมี[[กระทรวงการคลัง]]ถือหุ้น 100% เต็ม ทั้งนี้กระทรวงการคลังมีประสงค์เพื่อที่จะปรับสภาพการเงินภายในบริษัทให้คล่องตัวมากขึ้น และเพื่อให้บริษัทสามารถเข้าแข่งขันในเส้นทางกับเอกชนรายอื่น ๆ ได้


ปัจจุบันมีพลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร เป็นประธานกรรมการบริหาร<ref>[http://www.srtet.co.th/th/12_organize/01_org_bod.html คณะกรรมการ]</ref>
ปัจจุบันมีพลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร เป็นประธานกรรมการบริหาร<ref>[http://www.srtet.co.th/th/12_organize/01_org_bod.html คณะกรรมการ]</ref>

ต่อมาในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจเห็นชอบให้พัฒนาบริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด เป็นบริษัทลูกของการรถไฟแห่งประเทศไทย เพื่อเดินรถและซ่อมบำรุงโครงการ[[รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดง|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง]] ตามที่[[กระทรวงคมนาคม]]เสนอ โดยให้ปรับปรุงแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถในการหารายได้และทำกำไร และให้กระทรวงคมนาคมแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับติดตามการดำเนินโครงการให้มีประสิทธิภาพได้มาตรฐานเทียบเท่าเอกชน เป็นไปตามแผนการดำเนินงานและตัวชี้วัดที่กำหนด โดยไม่เป็นภาระของภาครัฐในอนาคต<ref>{{Cite web|url=https://www.prachachat.net/finance/news-327109|title=คนร.ไฟเขียวตั้งบริษัทลูกของ รฟท. 2 บริษัท เพื่อบริหารสินทรัพย์และเดินรถไฟฟ้าสายสีแดง|author=[[ประชาชาติธุรกิจ]]|website=www.prachachat.net|date=15 พฤษภาคม 2562|accessdate=24 มีนาคม 2563}}</ref>

== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:45, 24 มีนาคม 2563

บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด
SRT Electrified Train Co., Ltd.
ไฟล์:Srtet.jpg
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้งพ.ศ. 2553 (14 ปี)
เขตอำนาจกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งจังหวัดใกล้เคียง
สำนักงานใหญ่ศูนย์ซ่อมบำรุงคลองตัน เลขที่ 27 ซอยเพชรบุรี 47 (ศูนย์วิจัย) แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
ฝ่ายบริหารหน่วยงาน
  • พลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร, ประธานกรรมการ
  • สุเทพ พันธุ์เพ็ง (กรรมการ), กรรมการผู้อำนวยการใหญ่
  • ปิยะ วิโรจน์โภคา, ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ คนที่ 2 (รักษาการ)
ต้นสังกัดหน่วยงานการรถไฟแห่งประเทศไทย กระทรวงคมนาคม
เว็บไซต์www.srtet.co.th

บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการรถไฟฟ้าต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรถไฟแห่งประเทศไทย เช่น รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอีก 2 สาย

ประวัติ

บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด เดิมชื่อ บริษัท เดินรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด โดยจัดตั้งขึ้นเริ่มแรกในนามบริษัทลูกของการรถไฟแห่งประเทศไทย เพื่อดำเนินการ โครงการรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในเชิงพาณิชย์ โดยไม่ให้ขัดกับพระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2543 ที่บริษัทเดินรถไฟฟ้าจะต้องเป็นเอกชนอย่างเดียวเท่านั้น โดยความเห็นในการจัดตั้งบริษัทนี้ ส่วนหนึ่งมาจากความไม่ยินยอมของคณะกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย หรือ บอร์ด ร.ฟ.ท. ที่ลงความเห็นไม่เห็นด้วยกับข้อกำหนดของ พรบ. และแสดงทีท่าว่าไม่ยินยอมที่จะเปิดประมูลโครงการรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในรูปแบบการว่าจ้างให้เอกชนเข้ามาเดินรถ และต้องการที่จะนำโครงการมาดำเนินการด้วยตนเอง

หลังจากจัดตั้งบริษัทได้ไม่นานก็เกิดปัญหาหลายๆ อย่างตามมา ทั้งผู้รับเหมาโครงการก่อสร้าง และบริษัทเจ้าของรถไฟฟ้าที่รับผิดชอบอยู่ในขณะนั้น ไม่ยินยอมลงนามมอบอำนาจให้การรถไฟแห่งประเทศไทย และ บริษัท เดินรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด มาดำเนินโครงการต่อไป เพราะเห็นว่าเป็นบริษัทที่จัดตั้งขึ้นมาอย่างฉุกเฉิน และยังไม่มีประสบการณ์พอที่จะสามารถดำเนินการโครงการรถไฟฟ้าได้ด้วยตนเอง การรถไฟแห่งประเทศไทยจึงต้องใช้เวลาอย่างมากในการไกล่เกลี่ยกับผู้รับเหมาโครงการก่อสร้าง จนในที่สุดก็ลงความเห็นที่จะจัดตั้ง บริษัท เดินรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ขึ้น โดยมีบริษัท Deutsche Bahn AG จำกัด จากประเทศเยอรมนี เป็นผู้ดูแล โดยมีทุนจดเพียงทะเบียน 1 ล้านบาท เท่านั้น

หลังจากเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ในวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2555 คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ได้เห็นชอบที่จะยก บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ออกมาเป็นรัฐวิสาหกิจแห่งใหม่ โดยจัดให้อยู่ในสังกัดกระทรวงคมนาคม โดยมีกระทรวงการคลังถือหุ้น 100% เต็ม ทั้งนี้กระทรวงการคลังมีประสงค์เพื่อที่จะปรับสภาพการเงินภายในบริษัทให้คล่องตัวมากขึ้น และเพื่อให้บริษัทสามารถเข้าแข่งขันในเส้นทางกับเอกชนรายอื่น ๆ ได้

ปัจจุบันมีพลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร เป็นประธานกรรมการบริหาร[1]

ต่อมาในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจเห็นชอบให้พัฒนาบริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด เป็นบริษัทลูกของการรถไฟแห่งประเทศไทย เพื่อเดินรถและซ่อมบำรุงโครงการรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ โดยให้ปรับปรุงแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถในการหารายได้และทำกำไร และให้กระทรวงคมนาคมแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับติดตามการดำเนินโครงการให้มีประสิทธิภาพได้มาตรฐานเทียบเท่าเอกชน เป็นไปตามแผนการดำเนินงานและตัวชี้วัดที่กำหนด โดยไม่เป็นภาระของภาครัฐในอนาคต[2]

อ้างอิง

  1. คณะกรรมการ
  2. ประชาชาติธุรกิจ (15 พฤษภาคม 2562). "คนร.ไฟเขียวตั้งบริษัทลูกของ รฟท. 2 บริษัท เพื่อบริหารสินทรัพย์และเดินรถไฟฟ้าสายสีแดง". www.prachachat.net. สืบค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)