ภาษาจิ่งเผาะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ภาษาจิ่งพัว)
ภาษาจิ่งเผาะ
ภาษากะชีน
Jinghpaw
ဈိာင်ေဖါစ်
ออกเสียง[t͡ɕiŋ˧˩.pʰɔʔ˧˩]
ประเทศที่มีการพูดพม่า, จีน, อินเดีย
ภูมิภาครัฐกะชีน, ตำบลหยิงเจียง
ชาติพันธุ์ชาวจิ่งเผาะ
จำนวนผู้พูดไม่ทราบ (ประมาณ 940,000 อ้างถึง1999–2001)[1]
ตระกูลภาษา
ภาษาถิ่น
Dzili (Jili)
ระบบการเขียนอักษรละติน
อักษรพม่า
สถานภาพทางการ
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน พม่า
รหัสภาษา
ISO 639-2kac
ISO 639-3มีหลากหลาย:
kac – จิ่งเผาะ
sgp – สิ่งเผาะ
tcl – ตามัน
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาจิ่งเผาะ (ภาษาจิ่งผ่อ ภาษาจิ่งเปา ภาษาฉิ่งโป / ဈိာင်ေဖါစ်) หรือ ภาษากะชีน (พม่า: ကချင်ဘာသာ, ออกเสียง: [kə.t͡ɕɪ̀ɰ̃ bà.ðà]) ใช้พูดในรัฐกะชีน ประเทศพม่า และในประเทศจีน จนบางครั้งมีผู้เรียกว่าภาษากะชีน เนื่องจากเป็นภาษาของชนชาติจิ่งเผาะซึ่งเป็นชนชาติหลักของกลุ่มชนชาติกะชีน นอกจากนี้มีผู้พูดในจีนอีกราว 40.000 คน เมื่อ พ.ศ. 2542 โดยเฉพาะที่เขตเต๋อหง รวมมีผู้พูดทั้งหมดราว 900,000 คน[2]

ภาษาจิ่งเผาะเป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขาจิ่งเผาะ-โบโด-โกนยัก เป็นภาษามีวรรณยุกต์ ชาวไทตุรงในรัฐอัสสัมพูดภาษาจิ่งเผาะสำเนียงที่ผสมกับภาษาไทซึ่งเรียกว่าภาษาสิ่งเผาะ ระบบกริยาในภาษาจิ่งเผาะมีการแสดงเครื่องหมายของประธานและกรรมตรง

อ้างอิง[แก้]

  1. จิ่งเผาะ ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
    สิ่งเผาะ ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
    ตามัน ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
  2. "ISO 639 Code: kac". Ethnologue (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-12-10. สืบค้นเมื่อ 2008-06-08.

บรรณานุกรม[แก้]

  • 景颇语-汉语词典 Jingpoyu – Hanyu cidian / Jingpho–Chinese dictionary, 戴庆夏 Dai Qingxia et al.
  • 景颇语语法 Jingpoyu yufa / Jingpho Grammar, 戴庆夏 Dai Qingxia et al.
  • Structures élémentaires de la parenté, de Claude Lévi-Strauss, devotes a chapter to the study of parenthood in the Jingpho ethnicity.
  • Inglish, Douglas. 2005. A Preliminary Ngochang – Kachin – English Lexicon. Payap University, Graduate School, Linguistics Department.
  • Kurabe, Keita. 2014. "Phonological inventories of seven Jingphoish languages and dialects." In Kyoto University Linguistic Research 33: 57–88, Dec 2014.
  • Kurabe, Keita. 2013. Kachin folktales told in Jinghpaw. Collection KK1 at catalog.paradisec.org.au [Open Access]. https://dx.doi.org/10.4225/72/59888e8ab2122
  • Kurabe, Keita. 2017. Kachin culture and history told in Jinghpaw. Collection KK2 at catalog.paradisec.org.au [Open Access]. https://dx.doi.org/10.26278/5fa1707c5e77c
พยัญชนะจิ่งเผาะ[1]
A
ʔà
Ă
ʔa̰
E
ʔɛ̰
Ē
ʔɛ̀
È
ʔɛ́
I
ʔì
O
ʔɔ̀
U
ʔù
AI
ʔàɪɴ
AU
ʔáʊɴ
AW
ʔɔ́
OI
ʔʊ̀ɛ́
B
ba̰
CHY
t͡ɕa̰
D
da̰
G
ɡa̰
GY
ɡa̰ja̰
H
ha̰
J
d͡ʑa̰
K
ka̰
KY
ka̰ja̰
HK
kʰa̰
HKY
kʰa̰ja̰
L
la̰
M
ma̰
N
na̰
NG
ŋa̰
NY
ɲa̰
P
pa̰
HP
pʰa̰
HPY
pʰa̰ja̰
R
ja̰
S
sʰa̰
SH
ʃa̰
T
ta̰
TS
sa̰
HT
tʰa̰
W
wa̰
Y
ja̰
Z
za̰


แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • Glottolog | Jingpho [1]
  • Ethnologue | Jingpho [2]
  • OLAC resources | Kachin [3]
  • PARADISEC | Kachin folktales told in Jinghpaw [4]
  • PARADISEC | Kachin culture and history told in Jinghpaw [5]
  1. [6]