ข้ามไปเนื้อหา

จักรพรรดิบิดัตสึ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จักรพรรดิบิดัตสึ
敏達天皇
กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่แห่งยามาโตะ
จักรพรรดิญี่ปุ่น
ครองราชย์30 เมษายน ค.ศ. 572 – 14 กันยายน ค.ศ. 585
ก่อนหน้าคิมเม
ถัดไปโยเม
พระราชสมภพค.ศ. 538
สวรรคต14 กันยายน ค.ศ. 585(585-09-14) (46–47 ปี)
ฝังพระศพคาวาจิ โนะ ชินางะ โนะ นากะ โนะ โอะ โนะ มิซาซางิ ญี่ปุ่น: 河内磯長中尾陵โรมาจิKawachi no Shinaga no naka no o no misasagi; โอซากะ)
ชายาฮิโรฮิเมะ
นูกาตาเบะ (ภายหลังเป็นจักรพรรดินีซูอิโกะ)
พระราชบุตรดูข้างล่าง
พระสมัญญานาม
ชิโงแบบจีน:
จักรพรรดิบิดัตสึ (敏達天皇)

ชิโงแบบญี่ปุ่น:
นูนากูราโนฟูโตตามาชิกิ โนะ ซูเมรามิโกโตะ (渟中倉太珠敷天皇)
ราชสกุลราชวงศ์ญี่ปุ่น
พระราชบิดาจักรพรรดิคิมเม
พระราชมารดาอิชิ-ฮิเมะ
ศาสนาชินโต

จักรพรรดิบิดัตสึ (ญี่ปุ่น: 敏達天皇โรมาจิBidatsu-tennō; ค.ศ. 538 – 14 กันยายน ค.ศ. 585) เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ที่ 30[1] ตามที่ได้จัดเรียงไว้ในลำดับการสืบราชบัลลังก์แบบดั้งเดิม[2]

รัชสมัยของจักรพรรดิบิดัตสึเริ่มต้นใน ค.ศ. 572 และสิ้นสุดใน ค.ศ. 585 อย่างไรก็ตาม พระชนมชีพหรือรัชสมัยของจักรพรรดิกลับไม่มีวันที่แน่นอน[3]

เรื่องเล่าแบบดั้งเดิม

[แก้]

นักประวัติศาสตร์ถือว่ารายละเอียดเกี่ยวกับพระชนม์ชีพของจักรพรรดิบิดัตสึน่าจะเป็นตำนาน แต่ก็มีความเป็นไปได้ว่าเป็นจริง[4]

ในนิฮงโชกิ พระองค์ได้รับการเรียกขานเป็น นูนากูระ โนะ ฟูโตตามาชิกิ (ญี่ปุ่น: 渟中倉太珠敷โรมาจิNunakura no Futotamashiki) พระราชวังในแคว้นยามาโตะมีชื่อว่า โอซาดะ โนะ มิยะแห่งอิวาเระ[5]

เหตุการณ์ในสมัยบิดัตสึ

[แก้]

ในปีที่ 15 ของรัชสมัยจักรพรรดิคิมเม บิดัตสึได้รับการแต่งตั้งเป็นมกุฎราชกุมาร[5]

พระราชพงศาวลี

[แก้]

พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองในจักรพรรดิคิมเม ส่วนอิชิ-ฮิเมะ พระราชมารดา เป็นพระราชธิดาในจักรพรรดิเซ็งกะ[5]

แม้ว่าบิดัตสึมีพระราชโอรสธิดาหลายพระองค์ ไม่มีคนใดเลยที่ได้ขึ้นเป็นจักรพรรดิ[6] โดยกูกันโชบันทึกไว้ว่า บิดัตสึมีจักรพรรดินี 4 พระองค์ และมีพระราชโอรสธิดารวม 16 พระองค์ (พระราชโอรส 6 พระองค์และพระราชธิดา 10 พระองค์)[5]

ฮิโรฮิเมะ จักรพรรดินีองค์แรกของบิดัตสึ สวรรคตในปีที่ 5 ของรัชสมัยพระองค์ บิดัตสึจึงเลื่อนขั้นเจ้าหญิงนูกาตาเบะ พระมเหสีองค์หนึ่ง ขึ้นเป็นจักพรรรดินี ภายหลังพระนางขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดินีซูอิโกะ

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Imperial Household Agency (Kunaichō), 敏達天皇 (30); retrieved 2013-1-31.
  2. Brown, Delmer. (1979). Gukanshō, pp. 262–263; Varley, H. Paul. (1980). Jinnō Shōtōki. pp. 124–125; Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du Japon, pp. 36–37; Nussbaum, Louis-Frédéric. (2002). "Traditional order of Tennō" in Japan encyclopedia, pp. 962–963.
  3. Nussbaum, "Traditional order of Tennō" at pp. 962–963; excerpt, "dates ... should be treated with caution up to Emperor Bidatsu Tennō, the thirtieth on the list."
  4. Kelly, Charles F. "Kofun Culture", Japanese Archaeology. 27 April 2009; retrieved 2013-1-31.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 Brown, p. 262.
  6. Ponsonby-Fane, p. 46.

ข้อมูล

[แก้]
  • Aston, William George. (1896). Nihongi: Chronicles of Japan from the Earliest Times to A.D. 697. London: Kegan Paul, Trench, Trubner. OCLC 448337491
  • Brown, Delmer M. and Ichirō Ishida, eds. (1979). Gukanshō: The Future and the Past. Berkeley: University of California Press. ISBN 978-0-520-03460-0; OCLC 251325323
  • Hopkins, Donald R. (2002). The Greatest Killer. Chicago: University of Chicago Press. ISBN 9780226351667; ISBN 9780226351681; OCLC 49305765
  • Ponsonby-Fane, Richard Arthur Brabazon. (1959). The Imperial House of Japan. Kyoto: Ponsonby Memorial Society. OCLC 194887
  • Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du Japon (Nihon Ōdai Ichiran). Paris: Royal Asiatic Society, Oriental Translation Fund of Great Britain and Ireland. OCLC 5850691
  • Varley, H. Paul. (1980). Jinnō Shōtōki: A Chronicle of Gods and Sovereigns. New York: Columbia University Press. ISBN 978-0-231-04940-5; OCLC 59145842