ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Poompong1986 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
| leaders_seat1 = ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
| leaders_seat1 = ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
| last_election1 = 56
| last_election1 = 56
| seats1 = 99
| seats1 = 100
| seat_change1 = {{increase}} 43
| seat_change1 = {{increase}} 44
| popular_vote1 =
| popular_vote1 =
| percentage1 =
| percentage1 =
บรรทัด 57: บรรทัด 57:
'''การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529''' นับเป็น '''การเลือกตั้งเป็นครั้งที่ 16 ของประเทศไทย''' สืบเนื่องมาจากการที่[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 43 ของไทย|รัฐบาล]]โดย พลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] [[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] ได้[[ยุบสภา|ตราพระราชกฤษฎีกายุบสภา]] เมื่อวันที่ [[1 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2529]] เนื่องจากรัฐบาลมีความขัดแย้งกับ[[สภาผู้แทนราษฎร]]เกี่ยวกับการตรา[[พระราชกำหนด]]แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พุทธศักราช 2522 โดยกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ [[27 กรกฎาคม]] ปีเดียวกัน<ref>สิริรัตน์ เรืองวงษ์วาร. ''ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน.'' กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2539. 632 หน้า. ISBN 974-599-876-4</ref>
'''การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529''' นับเป็น '''การเลือกตั้งเป็นครั้งที่ 16 ของประเทศไทย''' สืบเนื่องมาจากการที่[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 43 ของไทย|รัฐบาล]]โดย พลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] [[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] ได้[[ยุบสภา|ตราพระราชกฤษฎีกายุบสภา]] เมื่อวันที่ [[1 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2529]] เนื่องจากรัฐบาลมีความขัดแย้งกับ[[สภาผู้แทนราษฎร]]เกี่ยวกับการตรา[[พระราชกำหนด]]แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พุทธศักราช 2522 โดยกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ [[27 กรกฎาคม]] ปีเดียวกัน<ref>สิริรัตน์ เรืองวงษ์วาร. ''ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน.'' กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2539. 632 หน้า. ISBN 974-599-876-4</ref>


ผลการเลือกตั้ง [[พรรคประชาธิปัตย์]] โดย นาย[[พิชัย รัตตกุล]] หัวหน้าพรรค และนาย[[ชวน หลีกภัย]] แกนนำคนสำคัญของพรรค ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด ด้วยเสียงมากถึง 99 เสียง โดยเฉพาะในพื้นที่[[กรุงเทพมหานคร]]ได้มากถึง 15 เสียง จึงเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล โดยพรรคที่ได้รับเลือกตั้งรองลงมา คือ [[พรรคชาติไทย]] 64 เสียง, [[พรรคกิจสังคม]] 51 เสียง และ[[พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529) |พรรคราษฎร]] 20 เสียง โดยเสียงทั้งหมดในสภาผู้แทนราษฎรมีทั้งหมด 347 เสียง<ref>[http://www.democrat.or.th/th/about/history/ ประวัติพรรคประชาธิปัตย์]</ref>
ผลการเลือกตั้ง [[พรรคประชาธิปัตย์]] โดย นาย[[พิชัย รัตตกุล]] หัวหน้าพรรค และนาย[[ชวน หลีกภัย]] แกนนำคนสำคัญของพรรค ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด ด้วยเสียงมากถึง 100 เสียง โดยเฉพาะในพื้นที่[[กรุงเทพมหานคร]]ได้มากถึง 15 เสียง จึงเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล โดยพรรคที่ได้รับเลือกตั้งรองลงมา คือ [[พรรคชาติไทย]] 64 เสียง, [[พรรคกิจสังคม]] 51 เสียง และ[[พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529) |พรรคราษฎร]] 20 เสียง โดยเสียงทั้งหมดในสภาผู้แทนราษฎรมีทั้งหมด 347 เสียง<ref>[http://www.democrat.or.th/th/about/history/ ประวัติพรรคประชาธิปัตย์]</ref>


โดยทั้ง 4 [[พรรคการเมือง|พรรค]]ได้หารือกันถึงการจัดตั้งรัฐบาล ปรากฏว่า ทุกพรรคต่างเห็นชอบให้ พล.อ.เปรม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อไป ต่อมา [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในวันที่ [[5 สิงหาคม]] ปีเดียวกัน นับเป็นสมัยที่ 3 ของ พล.อ.เปรม โดยมี นาย[[อุกฤษ มงคลนาวิน]] ประธาน[[รัฐสภาไทย|รัฐสภา]]เป็นผู้นำรายชื่อขึ้นทูลเกล้าฯ และรับสนองพระบรมราชโองการ โดยมี[[สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3]] ถ่ายทอดพิธีสนองรับพระบรมราชโองการและคำกล่าวของ พล.อ.เปรม ณ [[บ้านสี่เสาเทเวศร์]] ซึ่งเป็นบ้านพัก ตลอดจนจบสิ้น<ref>หน้า 199, ประชาธิปัตย์ชนะเลือกตั้ง ''พล.อ.เปรมเป็นนายกฯ อีกสมัย''. ''กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2555'' โดย [[ชาญวิทย์ เกษตรศิริ]] ISBN 978-974-228-070-3 </ref>
โดยทั้ง 4 [[พรรคการเมือง|พรรค]]ได้หารือกันถึงการจัดตั้งรัฐบาล ปรากฏว่า ทุกพรรคต่างเห็นชอบให้ พล.อ.เปรม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อไป ต่อมา [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในวันที่ [[5 สิงหาคม]] ปีเดียวกัน นับเป็นสมัยที่ 3 ของ พล.อ.เปรม โดยมี นาย[[อุกฤษ มงคลนาวิน]] ประธาน[[รัฐสภาไทย|รัฐสภา]]เป็นผู้นำรายชื่อขึ้นทูลเกล้าฯ และรับสนองพระบรมราชโองการ โดยมี[[สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3]] ถ่ายทอดพิธีสนองรับพระบรมราชโองการและคำกล่าวของ พล.อ.เปรม ณ [[บ้านสี่เสาเทเวศร์]] ซึ่งเป็นบ้านพัก ตลอดจนจบสิ้น<ref>หน้า 199, ประชาธิปัตย์ชนะเลือกตั้ง ''พล.อ.เปรมเป็นนายกฯ อีกสมัย''. ''กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2555'' โดย [[ชาญวิทย์ เกษตรศิริ]] ISBN 978-974-228-070-3 </ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:34, 29 เมษายน 2563

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

ทั้งหมด 347 ที่นั่งในรัฐสภาไทย
  First party Second party Third party
  ไฟล์:Kukrit pramoj.jpg
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล พลตรีประมาณ อดิเรกสาร หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ประชาธิปัตย์ ชาติไทย กิจสังคม
เขตของผู้นำ ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
เลือกตั้งล่าสุด 56 110 99
ที่นั่งที่ชนะ 100 64 51
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 44 ลดลง 46 ลดลง 48

  Fourth party
  ไฟล์:พล.อ.เทียนชัย ศิริสัมพันธ์.jpg
ผู้นำ พลเอกเทียนชัย ศิริสัมพันธ์
พรรค พรรคราษฎร
เขตของผู้นำ ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
เลือกตั้งล่าสุด ไม่ได้ลงเลือกตั้ง
ที่นั่งที่ชนะ 20
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 20

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

พลเอกเปรม ติณสูลานนท์

ว่าที่นายกรัฐมนตรี

พลเอกเปรม ติณสูลานนท์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 นับเป็น การเลือกตั้งเป็นครั้งที่ 16 ของประเทศไทย สืบเนื่องมาจากการที่รัฐบาลโดย พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี ได้ตราพระราชกฤษฎีกายุบสภา เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 เนื่องจากรัฐบาลมีความขัดแย้งกับสภาผู้แทนราษฎรเกี่ยวกับการตราพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พุทธศักราช 2522 โดยกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 27 กรกฎาคม ปีเดียวกัน[1]

ผลการเลือกตั้ง พรรคประชาธิปัตย์ โดย นายพิชัย รัตตกุล หัวหน้าพรรค และนายชวน หลีกภัย แกนนำคนสำคัญของพรรค ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด ด้วยเสียงมากถึง 100 เสียง โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้มากถึง 15 เสียง จึงเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล โดยพรรคที่ได้รับเลือกตั้งรองลงมา คือ พรรคชาติไทย 64 เสียง, พรรคกิจสังคม 51 เสียง และพรรคราษฎร 20 เสียง โดยเสียงทั้งหมดในสภาผู้แทนราษฎรมีทั้งหมด 347 เสียง[2]

โดยทั้ง 4 พรรคได้หารือกันถึงการจัดตั้งรัฐบาล ปรากฏว่า ทุกพรรคต่างเห็นชอบให้ พล.อ.เปรม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อไป ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 5 สิงหาคม ปีเดียวกัน นับเป็นสมัยที่ 3 ของ พล.อ.เปรม โดยมี นายอุกฤษ มงคลนาวิน ประธานรัฐสภาเป็นผู้นำรายชื่อขึ้นทูลเกล้าฯ และรับสนองพระบรมราชโองการ โดยมีสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ถ่ายทอดพิธีสนองรับพระบรมราชโองการและคำกล่าวของ พล.อ.เปรม ณ บ้านสี่เสาเทเวศร์ ซึ่งเป็นบ้านพัก ตลอดจนจบสิ้น[3]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. สิริรัตน์ เรืองวงษ์วาร. ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2539. 632 หน้า. ISBN 974-599-876-4
  2. ประวัติพรรคประชาธิปัตย์
  3. หน้า 199, ประชาธิปัตย์ชนะเลือกตั้ง พล.อ.เปรมเป็นนายกฯ อีกสมัย. กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2555 โดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ISBN 978-974-228-070-3