ข้ามไปเนื้อหา

เอลียาห์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอลียาห์
ผู้เผยพระวจนะเอลียาห์ จากรายละเอียดในภาพจิตรกรรม Madonna and Child with Saints โดย Andrea di Bonaiuto
  • ผู้เผยพระวจนะ
  • บิดาของคณะคาร์เมไลท์
เกิดราว 900 ปีก่อนคริสตกาล
อาจเป็นที่ทิชบี
เสียชีวิตราว 849 ปีก่อนคริสตกาล[1]
ใกล้กับเยรีโค
นับถือ ใน
วันฉลอง20 กรกฎาคม (โรมันคาทอลิก,[3] อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์,[4] และ Lutheran Church–Missouri Synod[5])
องค์อุปถัมภ์

ในหนังสือพงศ์กษัตริย์ในคัมภีร์ฮีบรู เอลียาห์ (อังกฤษ: Elijah; /ɪˈlə/ il-eye-jə; ฮีบรู: אֵלִיָּהוּ, อักษรโรมัน: ʾĒlīyyāhū, มีความหมายว่า "พระเจ้าของเราคือพระยาห์เวห์[9]";[10][11] รูปภาษากรีก: Elias[a] /ɪˈləs/ il-eye-əs) เป็นผู้เผยพระวจนะและผู้แสดงการอัศจรรย์ที่อาศัยในราชอาณาจักรอิสราเอลเหนือ[12] ในรัชสมัยของกษัตริย์อาหับ (ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล)

ใน 1 พงศ๋กษัตริย์ 18 เอลียาห์ปกป้องการนมัสการต่อพระยาห์เวห์พระเจ้าของชาวฮีบรูให้อยู่เหนือพระบาอัลพระเจ้าของชาวคานาอัน พระเจ้ายังทรงกระทำการอัศจรรย์หลายอย่างผ่านทางเอลียาห์ เช่น การชุบชีวิต การนำไฟลงมาจากท้องฟ้า และการขึ้นสวรรค์ขณะมีชีวิต "ด้วยเพลิง"[13] เอลียาห์ยังมีบทบาทเป็นผู้นำสำนักของผู้เผยพระวจนะที่เรียกว่า "บุตรแห่งผู้เผยพระวจนะ"[14] หลังเอลียาห์ขึ้นสวรรค์ เอลีชาผู้เป็นลูกศิษย์และเป็นผู้ช่วยผู้ซื่อสัตย์ที่สุดของเอลียาห์เข้ามารับหน้าที่ของเอลียาห์ในฐานะผู้นำสำนัก หนังสือมาลาคีเผยพระวจนะถึงการกลับมาของเอลียาห์ "ก่อนวันแห่งพระยาห์เวห์ คือวันที่ใหญ่ยิ่งและน่าสะพรึงกลัวจะมาถึง"[15] ทำให้เอลียาห์กลายเป็นผู้เบิกทางของพระเมสสิยาห์และวันสิ้นโลกในหลากหลายความเชื่อที่นับถือคัมภีร์ฮีบรู การอ้างอิงถึงเอลียาห์ปรากฏในหนังสือบุตรสิรา, พันธสัญญาใหม่, มิชนาห์และทาลมุด, คัมภีร์อัลกุรอาน, คัมภีร์มอรมอน และงานเขียนของศาสนาบาไฮ

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. กรีก: Ἡλίας, Elías; ซีรีแอก: ܐܸܠܝܼܵܐ, Elyāe; Arabic: إلياس or إليا, Ilyās or Ilyā.

อ้างอิง

[แก้]
  1. Cline, Austin. "Biography of Elijah, Old Testament Prophet". สืบค้นเมื่อ 17 July 2020.
  2. Swayd, Samy (2015). Historical Dictionary of the Druzes. Rowman & Littlefield. p. 77. ISBN 9781442246171. since Elijah was central to Druzism, one may safely argue that the settlement of Druzes on Mount Carmel had partly to do with Elijahʼs story and devotion. Druzes, like some Christians, believe that Elijah came back as John the Baptist
  3. 3.0 3.1 "St. Elijah the Prophet". 21 November 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 June 2021. สืบค้นเมื่อ 17 July 2020.
  4. "The Glorious Prophet Elias (Elijah)". สืบค้นเมื่อ 17 July 2020.
  5. Calendar of Saints (Lutheran)
  6. "Prophet Elijah". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-12-09. สืบค้นเมื่อ 2024-02-17.
  7. Fukasawa, Katsumi (2017). Religious Interactions in Europe and the Mediterranean World: Coexistence and Dialogue from the 12th to the 20th Centuries. Taylor & Francis. p. 310. ISBN 9781351722179.
  8. 8.0 8.1 Mansour, Atallah (2008). Waiting for the Dawn: An Autobiography. The University of Michigan Press. p. 14. ISBN 9780436272585. Perhaps this is because the patron saint of Haifa and Mount Carmel is a biblical figure recognised by the entire population of Palestine - Elijah.
  9. Coogan, Michael David (2006). The Old Testament: A Historical and Literary Introduction to the Hebrew Scriptures. Oxford, England: Oxford University Press. p. 304. ISBN 9780195139105.
  10. Sperling, S. David (2007). "Elijah". ใน Skolnik, Fred (บ.ก.). Encyclopaedia Judaica. Vol. 6 (2 ed.). Thomson Gale. p. 331. ISBN 978-0-02-865934-3.
  11. Barton, John; Muddiman, John (2007). "Elijah". The Oxford Bible Commentary. Oxford, England: Oxford University Press. p. 246. ISBN 9780199277186.
  12. Yonge, Charlotte Mary (1859). "The Kingdom of Samaria". The Chosen People (5th ed.).
  13. 2 พงศ์กษัตริย์ 2:11
  14. 2 พงศ์กษัตริย์ 2:3
  15. มาลาคี 4:5

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Elijah: Prophet of Carmel, by Jane Ackerman, ICS Publications, 2003. ISBN 0-935216-30-8

มานุษยวิทยา

[แก้]

ประวัติศาสตร์

[แก้]
  • Miller, J. M. and J. H. Hayes. A History of Ancient Israel and Judah. Louisville, KY: Westminster John Knox Press, 2004. ISBN 0-664-22358-3

คติชาวบ้านและประเพณี

[แก้]
  • Bialik, H. N. and Y. H Ravnitzky. eds. The Book of Legends: Sefer Ha-Aggadah. New York: Schocken Books, 1992. ISBN 0-8052-4113-2
  • Ginzberg, Lewis. Legends of the Bible. Philadelphia: Jewish Publication Society of America, 1956.
  • Schwartz, Howard. Tree of Souls: The Mythology of Judaism. Oxford: Oxford University Press, 2004. ISBN 0-19-508679-1
  • Wolfson, Ron and Joel L. Grishaver. Passover: The Family Guide to Spiritual Celebration. Woodstock, VT: Jewish Lights Publishing, 2003. ISBN 1-58023-174-8

วรรณกรรมเด็ก

[แก้]
  • Aronin, Ben and Shay Rieger. The Secret of the Sabbath Fish. Philadelphia: Jewish Publication Society of America, 1978. ISBN 0-8276-0110-7
  • Goldin, Barbara. Journeys with Elijah: Eight Tales of the Prophet. New York: Harcourt Brace, 1999. ISBN 0-15-200445-9
  • Jaffe, Nina. The Mysterious Visitor: Stories of the Prophet Elijah. New York: Scholastic Press, 1997. ISBN 0-590-48422-2
  • Jaffe, Nina. The Way Meat Loves Salt: A Cinderella Tale from the Jewish Tradition. New York: Holt Publishing, 1998. ISBN 0-8050-4384-5
  • Silverman, Erica. Gittel's Hands. Mahwah, NJ: BridgeWater Books, 1996. ISBN 0-8167-3798-3
  • Sydelle, Pearl. Elijah's Tears: Stories for the Jewish Holidays. New York: Holt Publishing, 1996. ISBN 0-8050-4627-5
  • Thaler, Mike. Elijah, Prophet Sharing: and Other Bible Stories to Tickle Your Soul. Colorado Springs, CO: Faith Kids Publishing, 2000. ISBN 0-7814-3512-9
  • Scheck, Joann. The Water That Caught On Fire. St. Louis, Missouri: Concordia Publishing House: ARCH Books, 1969. (59-1159)

วรรณกรรมคริสต์ศาสนิกชน

[แก้]

อ้างอิงในคัมภีร์อัลกุรอาน

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]