1 พงศ์กษัตริย์ 2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
1 พงศ์กษัตริย์ 2
หน้าของหนังสือพงศ์กษัตริย์ (1 และ 2 พงศ์กษัตริย์) ใน Leningrad Codex (ค.ศ. 1008)
หนังสือหนังสือพงศ์กษัตริย์ ฉบับที่ 1
ภาคในคัมภีร์ฮีบรูเนวีอีม
ลำดับในภาคของคัมภีร์ฮีบรู4
หมวดหมู่ผู้เผยพระวจนะยุคต้น
ภาคในคัมภีร์ไบเบิลคริสต์พันธสัญญาเดิม
ลำดับในภาคของคัมภีร์ไบเบิลคริสต์11

1 พงศ์กษัตริย์ 2 (อังกฤษ: 1 Kings 2) เป็นบทที่ 2 ของหนังสือพงศ์กษัตริย์ในคัมภีร์ฮีบรู หรือหนังสือพงศ์กษัตริย์ ฉบับที่ 1 ในพันธสัญญาเดิมในคัมภีร์ไบเบิลของศาสนาคริสต์[1][2] หนังสือพงศ์กษัตริย์เป็นการรวบรวมจดหมายเหตุต่าง ๆ ที่บันทึกถึงพระราชกิจของกษัตริย์แห่งอิสราเอลและยูดาห์โดยผู้เรียบเรียงประวัติศาสตร์สายเฉลยธรรมบัญญัติในศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล โดยมีส่วนผนวกเพิ่มเข้ามาในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล[3] บทที่ 2 ของ 1 พงศ์กษัตริย์เป็นส่วนหนึ่งของตอนที่เน้นไปที่การปกครองของซาโลมอนเหนืออาณาจักรยูดาห์และอิสราเอลที่รวมเป็นหนึ่งเดียว (1 พงศ์กษัตริย์ 1 ถึง 11)[4] จุดเน้นของบทนี้คือการปกครองร่วมกันของดาวิดและซาโลมอนในฐานะกษัตริย์แห่งอิสราเอล[5]

ต้นฉบับ[แก้]

บทนี้เดิมเขียนด้วยภาษาฮีบรู แบ่งออกเป็น 53 วรรคตั้งแต่ศตวรรษที่ 16

พยานต้นฉบับ[แก้]

บางต้นฉบับในยุคต้นที่มีข้อความของบทนี้เป็นภาษาฮีบรูเป็น Masoretic Text ได้แก่ Codex Cairensis (ค.ศ. 895), Aleppo Codex (ศตวรรษที่ 10) and Codex Leningradensis (ค.ศ. 1008)[6]

ต้นฉบับโบราณที่หลงเหลืออยู่ของคำแปลเป็นภาษากรีกคอยนีที่รู้จักในชื่อเซปทัวจินต์ (ทำขึ้นในช่วงไม่กี่ศตวรรษสุดท้ายก่อนคริสตกาล) ได้แก่ Codex Vaticanus (B; B; ศตวรรษที่ 4) และ Codex Alexandrinus (A; A; ศตวรรษที่ 5)[7][a] ช่วงกลางของบทที่ 2 ของ 1 พงศ์กษัตริย์ (3 Reigns 2) เซปทัวจินต์ของ Codex Vaticanus มีส่วนเพิ่มเติมขนาดยาว 2 ส่วนเรียกว่า "ส่วนเพิ่มเติม 1 และ 2":

1. หลังวรรค 35 มีอีก 14 วรรคเพิ่มเติม ระบุเป็น 35a–35o
2. หลังวรรค 46 มีอีก 11 วรรคเพิ่มเติม ระบุเป็น 46a–46l[9]

การอ้างอิงในพันธสัญญาเดิม[แก้]

  • 1 พงศ์กษัตริย์ 2:1-9: สดุดี 37:1 -40[10]
  • 1 พงศ์กษัตริย์ 2:10-12: 1 พงศาวดาร 29:26-30[10]

วิเคราะห์[แก้]

สองบทแรกของหนังสือพงศ์กษัตริย์กล่าวถึงช่วงสุดท้ายของเรื่องราวของดาวิดและจุดเริ่มต้นของเรื่องราวของซาโลมอน[11] บทที่ 2 มีความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัดจากวรรณกรรมโบราณในคัมภีร์ไบเบิลและนอกคัมภีร์ไบเบิลอื่น ๆ[12]

คำสั่งเสียของดาวิดแก่ซาโลมอน (2:1–12)[แก้]

การกำจัดอาโดนียาห์ (2:13–25)[แก้]

การกำจัดอาบียาธาร์ (2:26–27)[แก้]

การกำจัดโยอาบ (2:28–35)[แก้]

การกำจัดชิเมอี (2:36–46)[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

  • ส่วนในคัมภีร์ไบเบิลที่เกี่ยวข้อง: เฉลยธรรมบัญญัติ 4, เฉลยธรรมบัญญัติ 6, เฉลยธรรมบัญญัติ 8, เฉลยธรรมบัญญัติ 9, เฉลยธรรมบัญญัติ 11, เฉลยธรรมบัญญัติ 29, เฉลยธรรมบัญญัติ 17, 1 ซามูเอล 2, 2 ซามูเอล 7, 2 ซามูเอล 16, 2 ซามูเอล 19, 1 พงศาวดาร 29, สดุดี 37, สดุดี 132, เยเรมีห์ 1
  • หมายเหตุ[แก้]

    1. หนังสือพงศ์กษัตริย์ ฉบับที่ 1 ทั้งเล่มขาดหายไปจาก Codex Sinaiticus ที่หลงเหลืออยู่[8]

    อ้างอิง[แก้]

    1. Halley 1965, p. 189.
    2. Collins 2014, p. 288.
    3. McKane 1993, p. 324.
    4. Dietrich 2007, p. 234.
    5. Dietrich 2007, p. 235.
    6. Würthwein 1995, pp. 35–37.
    7. Würthwein 1995, pp. 73–74.
    8. This article incorporates text from a publication now in the public domain: Herbermann, Charles, ed. (1913). "Codex Sinaiticus". Catholic Encyclopedia. New York: Robert Appleton Company.
    9. Tov 1999, p. 549.
    10. 10.0 10.1 1 Kings 2, Berean Study Bible
    11. Coogan 2007, p. 489 Hebrew Bible.
    12. Leithart 2006, p. 29.

    บรรณานุกรม[แก้]

    แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]