ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Niranarm (คุย | ส่วนร่วม)
add sons and daughters
แบ่งพระนามพระโอรส-ธิดา
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| สีพิเศษ = #ffc0cb
| สีอักษร = Blue
| ภาพ =
| ภาพ =
| พระนาม =
| caption =
| พระนาม = เกศ
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
| วันประสูติ = 10 มีนาคม พ.ศ. 2316
| วันประสูติ = 10 มีนาคม พ.ศ. 2316
บรรทัด 10: บรรทัด 7:
| พระอิสริยยศ = สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ กรมขุนอิศรานุรักษ์
| พระอิสริยยศ = สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ กรมขุนอิศรานุรักษ์
| ฐานันดรศักดิ์ = เจ้าฟ้าชั้นตรี
| ฐานันดรศักดิ์ = เจ้าฟ้าชั้นตรี
| พระราชบิดา = [[เจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน]]
| พระบิดา = [[เงิน แซ่ตัน]]
| พระราชมารดา = [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์]]
| พระมารดา = [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์]]
| พระชายา = คุณปัญจปาปี
| พระมเหสี =
| พระราชสวามี =
| พระโอรส/ธิดา = 82 องค์
| พระโอรส/ธิดา = มีพระโอรส 19 องค์ และพระธิดา 31 องค์
}}
}}


'''สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเกศ กรมขุนอิศรานุรักษ์'''<ref>{{cite web |url=http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf|title= ราชสกุลวงศ์|author=|date=|work= |publisher=กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์|accessdate=24 กุมภาพันธ์ 2557}}</ref> ([[9 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2316]] - [[18 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2373]]) หรือพระนามเดิมว่า '''เกศ''' พระโอรสลำดับที่ 6 ใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์|สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์]] กับ[[เจ้าขรัวเงิน]] ประสูติใน[[สมัยกรุงธนบุรี]] ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 12 ค่ำ ปีมะเส็งเบญจศก จ.ศ. 1135 ตรงกับวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2316 เป็นพระเจ้าหลานเธอใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]
'''สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์'''<ref>{{cite web |url=http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf|title= ราชสกุลวงศ์|author=|date=|work= |publisher=กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์|accessdate=24 กุมภาพันธ์ 2557}}</ref> (9 มีนาคม พ.ศ. 2316 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2373) หรือพระนามเดิมว่า '''เกศ''' พระโอรสใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์|สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์]] กับ[[เงิน แซ่ตัน]] เป็นต้นราชสกุลอิศรางกูร อยุธยา<ref>{{อ้างหนังสือ

เจ้าฟ้าเกศ ทรงเป็นผู้สำเร็จราชการมหาดไทย ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] ทรงเป็นแม่ทัพยกไปรักษาเมือง[[พระตะบอง]] (เมื่อ พ.ศ. 2358) ทรงมีฝีพระหัตถ์ในทางช่าง เช่น ทรงจำแบบอย่างเรีอรบญวนมาดัดแปลงเป็นเรือสำหรับใช้เดินทางไกล ทรงแต่งเก๋ง แต่งแพ สร้างสวนขวา พระประธานวัดรังศรีสุธาวาษในวัดบวรนืเวศ ได้รับพระราชทานวังที่ท่าเตียน<ref name=":0">"อิศรางกูร" ที่ระลึกงานพระราชทานเพลองศพ พลเรือตรี เอกไชย อิศรางกูร ณ อยุธยา. อังคารที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2534</ref>ในรัชกาลที่ 1 และประทับอยู่จนถืง รัชกาลที่ 3

กรมขุนอิศรานุรักษ์ ทรงเสกสมรสกับ[[สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงปัญจปาปี]] พระราชธิดาพระองค์ที่ 13 ใน[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]กับ[[กรมบริจาภักดีศรีสุดารักษ์]] มีพระโอรสธิดา 5 พระองค์ คือ หม่อมเจ้าใหญ่ หม่อมเจ้ากลาง หม่อมเจ้าหญิงศรีฟ้า หม่อมเจ้าสุนทรา หม่อมเจ้าหญิงรสสุคนธ์ ทรงเป็นต้น [[:หมวดหมู่:ราชสกุลอิศรางกูร|'''ราชสกุลอิศรางกูร''']] <ref>{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = เล็ก พงษ์สมัครไทย
| ผู้แต่ง = เล็ก พงษ์สมัครไทย
| ชื่อหนังสือ = พระญาติ ราชสกุลกรุงรัตนโกสินทร์
| ชื่อหนังสือ = พระญาติ ราชสกุลกรุงรัตนโกสินทร์
บรรทัด 43: บรรทัด 35:
}}</ref>
}}</ref>


== พระประวัติ ==
'''หม่อมเจ้าพระโอรส'''<ref name=":0" /> 1. ม.จ.ชะอุ่ม (กรมหมื่นเทวานุรักษ์) 2. ม.จ.สนุ่น 3. ม.จ.โสภณ 4. ม.จ.ขจร 5. ม.จ.ชุมสาย (ชุมแสง) 6. ม.จ.ชายดำ 7. ม.จ.วัตถา 8. ม.จ.โต 9. ม.จ.รศสุคนธ์ 10. ม.จ.กำพล 11. ม.จ.นิล 12. ม.จ.มุ้ย
สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์ประสูติใน[[สมัยกรุงธนบุรี]] ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 12 ค่ำ ปีมะเส็งเบญจศก จ.ศ. 1135 ตรงกับวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2316 พระโอรสลำดับที่ 6 ใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์|สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์]] กับ[[เงิน แซ่ตัน]] และเป็นพระเจ้าหลานเธอใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]


เจ้าฟ้าเกศทรงเป็นผู้สำเร็จราชการมหาดไทยในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] ทรงเป็นแม่ทัพยกไปรักษาเมือง[[พระตะบอง]] (เมื่อ พ.ศ. 2358) ทรงมีฝีพระหัตถ์ในทางช่าง เช่น ทรงจำแบบอย่างเรีอรบญวนมาดัดแปลงเป็นเรือสำหรับใช้เดินทางไกล ทรงแต่งเก๋ง แต่งแพ สร้างสวนขวา พระประธานวัดรังศรีสุธาวาษในวัดบวรนืเวศ ได้รับพระราชทานวังที่ท่าเตียน<ref name=":0">"อิศรางกูร" ที่ระลึกงานพระราชทานเพลองศพ พลเรือตรี เอกไชย อิศรางกูร ณ อยุธยา. อังคารที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2534</ref> ตั้งแต่รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] และประทับเรื่อยมาจนถืงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
13. ม.จ.คันทรง 14. ม.จ.น้อย 15. ม.จ.มณฑป 16. ม.จ.พรหมเมศร์ (ถึก) 17. ม.จ.สุด (สุดชาต) 18. ม.จ.ตุ้ม 19. ม.จ.สุราไลย


กรมขุนอิศรานุรักษ์ ประชวรพระยอดที่พระปฤษฎางค์ ถืงแก่ทิวงคตใน[[รัชกาลที่ 3]] เมื่อวันศุกร์ เดือน 4 ขึ้น 7 ค่ำ ปีขาลโทศก จ.ศ. 1192 ตรงกับวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2373 พระชันษา 58 ปี
'''หม่อมเจ้าพระธิดา''' (ไม่มีที่ทรงเสกสมรสเลย) 1. ม.จ.อำพัน 2. ม.จ.อัมภร 3. ม.จ.ประไภ 4. ม.จ.มณฑา 5. ม.จ.ลม่อม 6. ม.จ.มุกดา 7. ม.จ.หนูหมี 8. ม.จ.ประดับ 9. ม.จ.จีด 10. ม.จ.อำพา 11. ม.จ.ตลับ 12. ม.จ.ปุก


== พระโอรส-ธิดา ==
13. ม.จ.บัญชร 14. ม.จ.ประภา 15. ม.จ.กลาง (หนูกลาง) 16. ม.จ.เขียน 17. ม.จ.อุไร 18. ม.จ.อรชร 19. ม.จ.ป้อม 20. ม.จ.มาลี 21. ม.จ.ปี 22. ม.จ.ไย 23. ม.จ.สว่าง 24. ม.จ.สวาส 25. ม.จ.ลดาวัล 26. ม.จ.รัศมี
กรมขุนอิศรานุรักษ์ทรงเป็นต้นราชสกุลอิศรางกูร ณ อยุธยา เสกสมรสกับ[[สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงปัญจปาปี]] หรือ คุณปัญจปาปี พระราชธิดาพระองค์ที่ 13 ใน[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]กับ[[กรมบริจาภักดีศรีสุดารักษ์]] มีพระโอรสธิดา 5 พระองค์ คือ หม่อมเจ้าใหญ่ หม่อมเจ้ากลาง หม่อมเจ้าหญิงศรีฟ้า หม่อมเจ้าสุนทรา หม่อมเจ้าหญิงรสสุคนธ์ นอกจากนี้ยังมีหม่อมท่านอื่น ๆ อีกจำนวนมาก รวมมีพระโอรส-ธิดาทั้งสิ้น 82 องค์<ref>สมประสงค์ ทรัพย์พาลี. ''สายใยในราชวงศ์จักรี''. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560, หน้า 15</ref> ได้แก่<ref name=":0" />


; พระโอรส
27. ม.จ.เล็ก 28. ม.จ.สุด 29. ม.จ.ถนอม 30. ม.จ.คืบ 31.โมรา
{{col-begin}}
{{col-2}}
* [[พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชอุ่ม กรมหมื่นเทวานุรักษ์]]
* หม่อมเจ้าสนุ่น อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าโสภณ อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าขจร อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าชุมสาย (ชุมแสง) อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าดำ อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าวัตถา อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าโต อิศรางกูร
* หม่อมเจ้ารศสุคนธ์ อิศรางกูร
* หม่อมเจ้ากำพล อิศรางกูร
{{col-2}}
* หม่อมเจ้านิล อิศรางกูร
* หม่อมเจ้ามุ้ย อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าคันทรง อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าน้อย อิศรางกูร
* หม่อมเจ้ามณฑป อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าพรหมเมศร์ (ถึก) อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าสุด (สุดชาต) อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าตุ้ม อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าสุราไลย อิศรางกูร
{{col-end}}


; พระธิดา
กรมขุนอิศรานุรักษ์ ประชวรพระยอดที่พระปฤษฎางค์ ถืงแก่ทิวงคต ใน[[รัชกาลที่ 3]] เมื่อวันศุกร์ เดือน 4 ขึ้น 7 ค่ำ ปีขาลโทศก จ.ศ. 1192 ตรงกับวันที่ [[18 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2373]] พระชันษา 58 ปี
{{col-begin}}
{{col-2}}
* หม่อมเจ้าอำพัน อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าอำภร อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าประไภ อิศรางกูร
* หม่อมเจ้ามณฑา อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าลม่อม อิศรางกูร
* หม่อมเจ้ามุกดา อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าหนูหมี อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าประดับ อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าจีด อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าอำพา อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าตลับ อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าปุก อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าบัญชร อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าประภา อิศรางกูร
* หม่อมเจ้ากลาง (หนูกลาง) อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าเขียน อิศรางกูร
{{col-2}}
* หม่อมเจ้าอุไร อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าอรชร อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าป้อม อิศรางกูร
* หม่อมเจ้ามาลี อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าปี อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าไย อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าสว่าง อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าสวาส อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าลดาวัล อิศรางกูร
* หม่อมเจ้ารัศมี อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าเล็ก อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าสุด อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าถนอม อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าคืบ อิศรางกูร
* หม่อมเจ้าโมรา อิศรางกูร
{{col-end}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:39, 13 พฤษภาคม 2560

สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์
สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ กรมขุนอิศรานุรักษ์
ประสูติ10 มีนาคม พ.ศ. 2316
สิ้นพระชนม์18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2373 (56 ปี)
พระชายาคุณปัญจปาปี
พระบุตร82 องค์
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาเงิน แซ่ตัน
พระมารดาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์

สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์[1] (9 มีนาคม พ.ศ. 2316 – 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2373) หรือพระนามเดิมว่า เกศ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ กับเงิน แซ่ตัน เป็นต้นราชสกุลอิศรางกูร ณ อยุธยา[2][3]

พระประวัติ

สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์ประสูติในสมัยกรุงธนบุรี ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 12 ค่ำ ปีมะเส็งเบญจศก จ.ศ. 1135 ตรงกับวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2316 พระโอรสลำดับที่ 6 ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ กับเงิน แซ่ตัน และเป็นพระเจ้าหลานเธอในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

เจ้าฟ้าเกศทรงเป็นผู้สำเร็จราชการมหาดไทยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็นแม่ทัพยกไปรักษาเมืองพระตะบอง (เมื่อ พ.ศ. 2358) ทรงมีฝีพระหัตถ์ในทางช่าง เช่น ทรงจำแบบอย่างเรีอรบญวนมาดัดแปลงเป็นเรือสำหรับใช้เดินทางไกล ทรงแต่งเก๋ง แต่งแพ สร้างสวนขวา พระประธานวัดรังศรีสุธาวาษในวัดบวรนืเวศ ได้รับพระราชทานวังที่ท่าเตียน[4] ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก และประทับเรื่อยมาจนถืงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

กรมขุนอิศรานุรักษ์ ประชวรพระยอดที่พระปฤษฎางค์ ถืงแก่ทิวงคตในรัชกาลที่ 3 เมื่อวันศุกร์ เดือน 4 ขึ้น 7 ค่ำ ปีขาลโทศก จ.ศ. 1192 ตรงกับวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2373 พระชันษา 58 ปี

พระโอรส-ธิดา

กรมขุนอิศรานุรักษ์ทรงเป็นต้นราชสกุลอิศรางกูร ณ อยุธยา เสกสมรสกับสมเด็จเจ้าฟ้าหญิงปัญจปาปี หรือ คุณปัญจปาปี พระราชธิดาพระองค์ที่ 13 ในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกับกรมบริจาภักดีศรีสุดารักษ์ มีพระโอรสธิดา 5 พระองค์ คือ หม่อมเจ้าใหญ่ หม่อมเจ้ากลาง หม่อมเจ้าหญิงศรีฟ้า หม่อมเจ้าสุนทรา หม่อมเจ้าหญิงรสสุคนธ์ นอกจากนี้ยังมีหม่อมท่านอื่น ๆ อีกจำนวนมาก รวมมีพระโอรส-ธิดาทั้งสิ้น 82 องค์[5] ได้แก่[4]

พระโอรส
พระธิดา

อ้างอิง

  1. "ราชสกุลวงศ์" (PDF). กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. เล็ก พงษ์สมัครไทย. พระญาติ ราชสกุลกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง, พ.ศ. 2549. 160 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-9687-35-3
  3. ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544. 490 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-222-648-2
  4. 4.0 4.1 "อิศรางกูร" ที่ระลึกงานพระราชทานเพลองศพ พลเรือตรี เอกไชย อิศรางกูร ณ อยุธยา. อังคารที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2534
  5. สมประสงค์ ทรัพย์พาลี. สายใยในราชวงศ์จักรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560, หน้า 15