จังหวัดปัตตานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดปัตตานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

← พ.ศ. 2562 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ครั้งต่อไป →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน508,607
ผู้ใช้สิทธิ77.46 %
  First party Second party Third party
 
Wan Muhamad Noor Matha.jpg
Prawit Wongsuwan (2018) (cropped).jpg
Jurin Laksanawisit 2009 (cropped).jpg
พรรค ประชาชาติ พลังประชารัฐ ประชาธิปัตย์
เลือกตั้งล่าสุด 2 0 1
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 1 เพิ่มขึ้น 1 Steady
คะแนนเสียง 102,319 84,279 53,406
% 27.46 22.62 14.33

  Fourth party
 
Anutin Charnvirakul - 2023 (52638148766) (cropped).jpg
พรรค ภูมิใจไทย
เลือกตั้งล่าสุด 1
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 1
คะแนนเสียง 43,431
% 11.66

ผลการเลือกตั้งตามเขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2566 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 จัดขึ้นในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ประกอบด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งทั้งสิ้น 5 เขตเลือกตั้ง มีผู้ได้รับเลือกตั้งเขตละ 1 คน[1] เพิ่มจากการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2562 1 เขต คู่ขนานไปกับการลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ

ภาพรวม[แก้]

การเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้ง[แก้]

จากมติของที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2564 ได้กำหนดการเลือกตั้งครั้งนี้มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มจากเดิม 350 คน เป็น 400 คน จึงส่งผลทำให้จังหวัดปัตตานีมีจำนวน ส.ส.แบบแบ่งเขตเพิ่มขึ้นจาก 4 เขตในการเลือกตั้งปี 2562 เป็น 5 เขตในการเลือกตั้งครั้งนี้ โดยหนึ่งเขตเลือกตั้งจะมีจำนวน ส.ส. ได้หนึ่งคน[1]

เขตเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2562
เขตเลือกตั้งครั้งนี้

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดปัตตานี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ใหม่ (1)
ประชาธิปไตยใหม่ (2)
เป็นธรรม (3)
ท้องที่ไทย (4)
พลังสังคมใหม่ (5)
ครูไทยเพื่อประชาชน (6)
ภูมิใจไทย (7)
แรงงานสร้างชาติ (8)
พลัง (9)
อนาคตไทย (10)
ประชาชาติ (11)
ไทยรวมไทย (12)
ไทยชนะ (13)
ชาติพัฒนากล้า (14)
กรีน (15)
พลังสยาม (16)
เสมอภาค (17)
ชาติไทยพัฒนา (18)
ภาคีเครือข่ายไทย (19)
เปลี่ยน (20)
ไทยภักดี (21)
รวมไทยสร้างชาติ (22)
รวมใจไทย (23)
เพื่อชาติ (24)
เสรีรวมไทย (25)
ประชาธิปัตย์ (26)
พลังธรรมใหม่ (27)
ไทยพร้อม (28)
เพื่อไทย (29)
ทางเลือกใหม่ (30)
ก้าวไกล (31)
ไทยสร้างไทย (32)
ไทยเป็นหนึ่ง (33)
แผ่นดินธรรม (34)
รวมพลัง (35)
เพื่อชาติไทย (36)
พลังประชารัฐ (37)
เพื่อไทรวมพลัง (38)
มิติใหม่ (39)
ประชาภิวัฒน์ (40)
ไทยธรรม (41)
ไทยศรีวิไลย์ (42)
พลังสหกรณ์ (43)
ราษฎร์วิถี (44)
แนวทางใหม่ (45)
ถิ่นกาขาวชาววิไล (46)
รวมแผ่นดิน (47)
เพื่ออนาคตไทย (48)
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย (49)
พลังปวงชนไทย (50)
สามัญชน (51)
ชาติรุ่งเรือง (52)
พลังสังคม (53)
ภราดรภาพ (54)
ไทยก้าวหน้า (55)
ประชาไทย (56)
พลังเพื่อไทย (57)
สังคมประชาธิปไตยไทย (58)
ช่วยชาติ (59)
ความหวังใหม่ (60)
คลองไทย (61)
พลังไทรักชาติ (62)
ประชากรไทย (63)
เส้นด้าย (64)
เปลี่ยนอนาคต (65)
พลังประชาธิปไตย (66)
ไทยสมาร์ท (67)
บัตรดี
บัตรเสีย
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 507,741 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองปัตตานี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาชาติ วรวิทย์ บารู (5) 14,452 20.55
ภูมิใจไทย เพชรดาว โต๊ะมีนา (4)** 12,770 18.16
พลังประชารัฐ อรุณ เบ็ญจลักษณ์ (6) 12,363 17.58
ประชาธิปัตย์ สนิท นาแว (8) 12,328 17.53
ก้าวไกล ชาญชัย ศรีสุด (10) 10,132 14.41
รวมไทยสร้างชาติ ไฟซอล อีสเฮาะ (7) 3,370 4.79
ไทยภักดี เกียรติศักดิ์ วงศ์นรานุวัตร (11) 1,960 2.79
เพื่อไทย อภิศักดิ์ หะยีมะ (1) 1,333 1.90
เป็นธรรม มุสตารซีดีน วาบา (3) 719 1.02
เสรีรวมไทย มานต์ เบ็ญนา (2) 285 0.41
ไทยสร้างไทย ชลิต ศรีสมาน (9) 249 0.35
เปลี่ยน อรปภา อรัญญภาค (14) 122 0.17
พลังสังคมใหม่ อิสกัณดัร ลาเต๊ะ (15) 93 0.13
ไทยศรีวิไลย์ กัมปารา หลำสุบ (13) 72 0.10
เพื่อชาติ อามัน ลิมสุไลมาน (12) 70 0.10
ผลรวม 70,318 100.00
บัตรดี 70,318 93.45
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,611 3.47
บัตรเสีย 2,317 3.08
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,246 78.92
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 94,989 100.00
ประชาชาติ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหนองจิกและอำเภอโคกโพธิ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ คอซีย์ มามุ (4) 23,483 29.38
ภูมิใจไทย อับดุลบาซิม อาบู (3)* 14,833 18.56
ประชาชาติ มูฮำมัดอารีฟีน จะปะกิยา (5)✔ 13,268 16.60
รวมไทยสร้างชาติ ศิรวัชโชติ รัตนมาลา (8) 11,122 13.91
ประชาธิปัตย์ มนตรี ดอเลาะ (9) 6,679 8.36
ก้าวไกล อับดุลเราะมัน สายาดะ (1) 5,979 7.48
ประชาธิปไตยใหม่ รอเสะ เจะหะ (11) 2,134 2.68
เพื่อไทย อดิศักดิ์ สาหลำ (7) 728 0.91
เป็นธรรม ดุนยา เบญฮาริศ (2) 472 0.59
ไทยสร้างไทย นาซีฮะห์ ลาเตะ (6) 349 0.44
เปลี่ยน นิซอบรี ยีเร็ง (14) 252 0.32
เสรีรวมไทย อดุลย์ หะยีดือราแม (13) 197 0.25
ไทยศรีวิไลย์ เจะนิ สะนิ (10) 135 0.17
เพื่อชาติ ดุลบุตร กะจิ (12) 121 0.15
คลองไทย รอฮะนี มะ (15) 117 0.15
พลังสังคมใหม่ ธนพันธ์ ขวัญเพชร (16) 67 0.08
ผลรวม 79,936 100.00
บัตรดี 79,936 94.75
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,573 1.86
บัตรเสีย 2,859 3.39
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 84,368 78.22
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,479 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอแม่ลาน อำเภอยะรัง และอำเภอทุ่งยางแดง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาชาติ สมมุติ เบ็ญจลักษณ์ (2)* 23,636 34.91
พลังประชารัฐ บูรฮันธ์ สะเม๊าะ (9) 20,294 29.97
ประชาธิปัตย์ สิบเอก สุริยา กูทา (7) 12,478 18.43
ก้าวไกล มาหามะคอดาปี สมวงค์ (3) 4,546 6.71
ไทยศรีวิไลย์ ซูไรยา เบ็ญจ์วรรณมาศ (11) 2,811 4.15
รวมไทยสร้างชาติ ซาตา อาแวกือจิ (5)✔ 812 1.20
ภูมิใจไทย ฟรีดี เบญอิบรอน (1) 794 1.17
เป็นธรรม มูฮัมหมัดกัสดาฟี กูนา (8) 750 1.11
ไทยสร้างไทย อิบรอฮิม ยานยา (6) 603 0.89
เพื่อไทย รุสดี แวบือซา (4) 551 0.81
ไทยภักดี บิสมี สาและ (12) 229 0.34
เสรีรวมไทย ซูไรดา กะดอง (10) 124 0.18
เพื่อชาติ มะดิง เย็ง (13) 79 0.12
ผลรวม 67,707 100.00
บัตรดี 67,707 94.59
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,166 1.63
บัตรเสีย 2,708 3.78
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 71,581 76.02
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 95,152 100.00
ประชาชาติ รักษาที่นั่ง

เขต 4[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอกะพ้อ อำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอำเภอปะนาเระ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ยูนัยดี วาบา (6) 21,556 26.88
รวมไทยสร้างชาติ อริญชัย ซูสารอ (5) 19,360 24.15
ภูมิใจไทย อับดุลกอฮาร์ อาแวปูเตะ (1) 14,095 17.58
ประชาชาติ ว่าที่ร้อยตรี โมฮามัดยาสรี ยูซง (7)✔ 13,895 17.33
ก้าวไกล โมฮำมัดรอฮมัด มามุ (2) 4,558 5.69
ประชาธิปไตยใหม่ ฮัมเสียะ ปูเงิน (11) 2,764 3.45
พลังประชารัฐ รุสดี สารอเอง (4) 1,595 1.99
เป็นธรรม สุไฮมี ดูละสะ (8) 838 1.05
เพื่อไทย อาหมัดบูรฮัน ติพอง (3) 641 0.80
พลังสังคมใหม่ นิพารุสวันฮัมซี ต่วน (16) 170 0.21
เปลี่ยน สามะ มะเซ็ง (15) 166 0.21
เพื่อชาติ อับดุลการิม ยูโซะ (12) 148 0.19
ไทยสร้างไทย อาลีฟ มาแฮ (9) 126 0.16
เสรีรวมไทย ร้อยตำรวจโท ธีรณัฎฐ์ จันทโน (13) 119 0.15
ไทยภักดี เซ็ง ปูเตะ (10) 84 0.11
คลองไทย ศรัทธา แหมะจิ (14) 66 0.08
ผลรวม 80,181 100.00
บัตรดี 80,181 95.58
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,138 1.36
บัตรเสีย 2,570 3.06
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 83,889 78.89
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 105,871 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชาชาติ

เขต 5[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอยะหริ่งและอำเภอมายอ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี เขต 5
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาชาติ สาเหะมูหามัด อัลอิดรุส (6) 37,068 49.76
พลังประชารัฐ อันวาร์ สาและ (2)* 26,544 35.63
ก้าวไกล อัดนันต์ อาแว (7) 4,539 6.09
คลองไทย อามาน ลีมะ (11) 3,239 4.35
ภูมิใจไทย พันตำรวจเอก ต่วนเดร์ จุฑานันท์ (1) 939 1.26
เพื่อไทย นาวี หะยีดอเลาะ (3) 771 1.04
รวมไทยสร้างชาติ ยุซรี ซูสารอ (5)✔ 681 0.91
ประชาธิปัตย์ คอเลฟ เจ๊ะนา (4) 365 0.49
ไทยภักดี ลาตีเต๊าะ บือแน (9) 135 0.18
เสรีรวมไทย มาหะมะ เลาะพา (8) 117 0.16
ประชาธิปไตยใหม่ มะลาเซ็ง เจะแมง (10) 97 0.13
ผลรวม 74,495 100.00
บัตรดี 74,495 94.44
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,126 1.43
บัตรเสีย 3,263 4.14
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 78,884 75.19
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 104,250 100.00
ประชาชาติ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "เปิดจำนวน ส.ส. 400 เขตเลือกตั้งใหม่ กทม.ยังมากสุด 33 คน". workpointTODAY.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]