จังหวัดปัตตานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539
หน้าตา
| |||||||||||||||||||
4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย | |||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลงทะเบียน | 337,044 | ||||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 64.65% | ||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]
ภาพรวม
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
[แก้]สัญลักษณ์และความหมาย | |
* | ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
** | ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
† | ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์ |
✔ | ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว |
( ) | หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร |
ตัวหนา | ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้งที่ 1
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองปัตตานี, อำเภอยะหริ่ง, อำเภอปานาเระ, อำเภอสายบุรี, อำเภอกะพ้อ และอำเภอไม้แก่น
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดปัตตานี | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | วัยโรจน์ พิพิธภักดี (3)* | 58,220 | 52.51 | ||
ความหวังใหม่ | เด่น โต๊ะมีนา (1)✔ | 57,138 | 51.53 | ||
ประชาธิปัตย์ | มะรีเป็ง จะปะกิยา (4)* | 50,913 | 45.92 | ||
ความหวังใหม่ | อาแว มะยูโซะ (2) | 44,446 | 40.08 | ||
มวลชน | ร้อยตำรวจเอก สันติ อัลอิดรุส (5) | 3,490 | 3.14 | ||
มวลชน | สิบเอก มะรอยี อูเซ็ง (6) | 341 | 0.30 | ||
บัตรดี | 110,873 | 95.96 | – | ||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 427 | 0.37 | – | ||
บัตรเสีย | 4,236 | 3.67 | – | ||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | 115,536 | 66.48 | – | ||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | 173,785 | 100.00 | — | ||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์ |
เขตเลือกตั้งที่ 2
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอยะรัง, อำเภอหนองจิก, อำเภอโคกโพธิ์, อำเภอแม่ลาน, อำเภอทุ่งยางแดง และอำเภอมายอ
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดปัตตานี | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | พันตำรวจโท เจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง (3) | 52,040 | 53.50 | ||
ความหวังใหม่ | มุข สุไลมาน (2)* | 49,987 | 51.39 | ||
ความหวังใหม่ | สุดิน ภูยุทธานนท์ (1)* | 48,174 | 49.53 | ||
ประชาธิปัตย์ | อิศร์มัย เบญจสมิทธิ์ (4) | 37,588 | 38.64 | ||
บัตรดี | 97,256 | 95.00 | – | ||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 540 | 0.53 | – | ||
บัตรเสีย | 4,580 | 4.47 | – | ||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | 102,376 | 62.71 | – | ||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | 163,259 | 100.00 | — | ||
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่ | |||||
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง |
ดูเพิ่ม
[แก้]- จังหวัดปัตตานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538
- จังหวัดปัตตานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ผลการเลือกตั้ง เก็บถาวร 2004-09-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนเว็บไซต์กรมการปกครอง