รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก
หน้าตา
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนสถานที่สำคัญใน 10 ประเทศในภูมิภาคยุโรปตะวันออกเป็นแหล่งมรดกโลกหลายแห่ง[1] ทั้งนี้ ไม่นับรวมแหล่งมรดกโลกในประเทศอาร์มีเนีย จอร์เจีย และอาเซอร์ไบจานซึ่งมีตำแหน่งที่ตั้งคาบเกี่ยวกับภูมิภาคเอเชียตะวันตก
- หมายเหตุ – ตัวเลขหน้าข้อความหมายถึง ปี พ.ศ./ค.ศ. ที่สถานที่นั้น ๆ ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก
สถิติ
[แก้]ประเทศ | จำนวนแหล่งมรดกโลก | ประเภท |
รัสเซีย (ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรป) |
วัฒนธรรม 20 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง[2] | |
เช็กเกีย | วัฒนธรรม 16 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง | |
โปแลนด์ | วัฒนธรรม 15 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง | |
โรมาเนีย | วัฒนธรรม 9 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง | |
บัลแกเรีย | วัฒนธรรม 7 แห่ง, ธรรมชาติ 3 แห่ง | |
ยูเครน | วัฒนธรรม 7 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง | |
ฮังการี | วัฒนธรรม 7 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง | |
สโลวาเกีย | วัฒนธรรม 6 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง | |
เบลารุส | วัฒนธรรม 3 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง | |
มอลโดวา | วัฒนธรรม 1 แห่ง |
- 2535/1992 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์ปราก
- 2535/1992 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์แช็สกีกรุมโลฟ
- 2535/1992 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์แต็ลช์
- 2537/1994 – โบสถ์การจาริกแสวงบุญแห่งนักบุญจอห์นแห่งแนโปมุกที่แซแลนาโฮรา
- 2538/1995 – กุตนาโฮรา : ศูนย์กลางประวัติศาสตร์ของเมือง พร้อมด้วยโบสถ์นักบุญบาร์บาราและอาสนวิหารแม่พระที่แซ็ดแล็ตส์
- 2539/1996 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมแล็ดญิตแซ-วัลจิตแซ
- 2541/1998 – สวนและปราสาทที่โกรมแญฌีช
- 2541/1998 – หมู่บ้านประวัติศาสตร์โฮลาโชวิตแซ
- 2542/1999 – ปราสาทลิโตมิเชิล
- 2543/2000 – เสาพระตรีเอกภาพในโอโลโมตส์
- 2544/2001 – วิลลาทูเกินท์ฮัทในเบอร์โน
- 2546/2003 – ย่านชาวยิวและมหาวิหารนักบุญปรอกอปิอุสในแชบีช
- 2562/2019 – ภูมิภาคทำเหมืองแอทซ์เกอเบียร์เกอ/กรุชโนโฮฌี (ร่วมกับเยอรมนี)
- 2562/2019 – ภูมิทัศน์การปรับปรุงพันธุ์และการฝึกม้าสำหรับรถม้าพิธีการที่กลาดรูบีนัดลาแบ็ม
- 2564/2021 – เมืองสปาใหญ่แห่งยุโรป
- 2564/2021 – ป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิแห่งเทือกเขาคาร์เพเทียนและภูมิภาคอื่นของยุโรป (ร่วมกับโครเอเชีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บัลแกเรีย เบลเยียม โปแลนด์ ฝรั่งเศส มาซิโดเนียเหนือ ยูเครน เยอรมนี โรมาเนีย สเปน สโลวาเกีย สโลวีเนีย สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย อิตาลี และแอลเบเนีย)
- 2566/2023 – ฌาแต็ตส์และภูมิทัศน์ฮอปส์ซาทซ์
- 2522/1979 – โบสถ์บอยานา
- 2522/1979 – คนขี่ม้ามาดารา
- 2522/1979 – หลุมฝังศพชาวเทรซแห่งกาซันเลิก
- 2522/1979 – โบสถ์หินสกัดแห่งอีวานอวอ
- 2526/1983 – อารามรีลา
- 2526/1983 – นครโบราณแนแซเบอร์
- 2526/1983 – เขตสงวนธรรมชาติสแรเบอร์นา
- 2526/1983 – อุทยานแห่งชาติปีริน
- 2528/1985 – หลุมฝังศพชาวเทรซแห่งสแวชตารี
- 2560/2017 – ป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิแห่งเทือกเขาคาร์เพเทียนและภูมิภาคอื่นของยุโรป (ร่วมกับโครเอเชีย เช็กเกีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เบลเยียม โปแลนด์ ฝรั่งเศส มาซิโดเนียเหนือ ยูเครน เยอรมนี โรมาเนีย สเปน สโลวาเกีย สโลวีเนีย สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย อิตาลี และแอลเบเนีย)
- 2522/1979 – เบโลเวจสกายาปูชา / ป่าเบียวอวีแยชา (ร่วมกับโปแลนด์)
- 2543/2000 – กลุ่มปราสาทมีร์
- 2548/2005 – กลุ่มสถาปัตยกรรมที่พำนัก และวัฒนธรรมของตระกูลราจีวิวที่เนสวิจ
- 2548/2005 – ส่วนโค้งภูมิมาตรศาสตร์ชตรูเวอ (ร่วมกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ มอลโดวา ยูเครน รัสเซีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย สวีเดน และเอสโตเนีย)
- 2521/1978 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์กรากุฟ
- 2521/1978 – เหมืองเกลือหลวงวีแยลิตชกาและบอคญา
- 2522/1979 – เอาช์วิทซ์เบียร์เคอเนา ค่ายกักกันและประหารของนาซีเยอรมัน (พ.ศ. 2483–2488)
- 2522/1979 – ป่าเบียวอวีแยชา (ร่วมกับเบลารุส)
- 2523/1980 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์วอร์ซอ
- 2535/1992 – นครเก่าซามอชช์
- 2540/1997 – เมืองสมัยกลางแห่งตอรุญ
- 2540/1997 – ปราสาทของคณะทิวทอนิกในมัลบอร์ก
- 2542/1999 – กัลวาเรียแซบชือดอฟสกา : กลุ่มสถาปัตยกรรมจริตนิยมและภูมิทัศน์อุทยาน และอุทยานการจาริกแสวงบุญ
- 2544/2001 – โบสถ์แห่งสันติภาพในยาวอร์และชฟิดญิตซา
- 2546/2003 – โบสถ์ไม้แห่งมาวอปอลสกาตอนใต้
- 2547/2004 – มุสเคาเออร์พาร์ค / ปาร์กมูชากอฟสกี (ร่วมกับเยอรมนี)
- 2549/2006 – ศาลาประชาคมร้อยปีในวรอตสวัฟ
- 2556/2013 – แซร์กวาไม้แห่งภูมิภาคคาร์เพเทียนในโปแลนด์และยูเครน (ร่วมกับยูเครน)
- 2560/2017 – เหมืองตะกั่ว-เงิน-สังกะสีตาร์นอฟสกีแยกูรือและระบบการจัดการน้ำใต้ดิน
- 2562/2019 – ภูมิภาคทำเหมืองหินเหล็กไฟลายชั้นยุคก่อนประวัติศาสตร์กแชมียองกี
- 2564/2021 – ป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิแห่งเทือกเขาคาร์เพเทียนและภูมิภาคอื่นของยุโรป (ร่วมกับโครเอเชีย เช็กเกีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บัลแกเรีย เบลเยียม ฝรั่งเศส มาซิโดเนียเหนือ ยูเครน เยอรมนี โรมาเนีย สเปน สโลวาเกีย สโลวีเนีย สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย อิตาลี และแอลเบเนีย)
- 2548/2005 – ส่วนโค้งภูมิมาตรศาสตร์ชตรูเวอ (ร่วมกับนอร์เวย์ เบลารุส ฟินแลนด์ ยูเครน รัสเซีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย สวีเดน และเอสโตเนีย)
- 2533/1990 – เคียฟ : อาสนวิหารนักบุญโซเฟียและสิ่งปลูกสร้างอารามที่เกี่ยวข้อง และกือแยวอ-แปแชร์สกาลาวรา
- 2541/1998 – ลวิว กลุ่มศูนย์กลางประวัติศาสตร์
- 2548/2005 – ส่วนโค้งภูมิมาตรศาสตร์ชตรูเวอ (ร่วมกับนอร์เวย์ เบลารุส ฟินแลนด์ มอลโดวา รัสเซีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย สวีเดน และเอสโตเนีย)
- 2550/2007 – ป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิแห่งเทือกเขาคาร์เพเทียนและภูมิภาคอื่นของยุโรป (ร่วมกับโครเอเชีย เช็กเกีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บัลแกเรีย เบลเยียม โปแลนด์ ฝรั่งเศส มาซิโดเนียเหนือ เยอรมนี โรมาเนีย สเปน สโลวาเกีย สโลวีเนีย สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย อิตาลี และแอลเบเนีย)
- 2554/2011 – ที่พำนักของมุขนายกมหานครแห่งบูโควีนาและแดลเมเชีย
- 2556/2013 – นครโบราณเคร์โซแนโซสเตาริแกและอาณาเขตนอกตัวนคร
- 2556/2013 – แซร์กวาไม้แห่งภูมิภาคคาร์เพเทียนในโปแลนด์และยูเครน (ร่วมกับโปแลนด์)
- 2566/2023 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์ออแดซา
- 2533/1990 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์เซนต์ปีเตอส์เบิร์กและกลุ่มโบราณสถานที่เกี่ยวเนื่อง
- 2533/1990 – โปกอสต์แห่งคีจี
- 2533/1990 – เครมลินและจัตุรัสแดง มอสโก
- 2535/1992 – กลุ่มวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์หมู่เกาะซอโลเวตสกี
- 2535/1992 – โบราณสถานแห่งนอฟโกรอดและบริเวณแวดล้อม
- 2535/1992 – โบราณสถานสีขาวแห่งวลาดีมีร์และซุซดัล
- 2536/1993 – กลุ่มสถาปัตยกรรมของอารามตรีเอกภาพแห่งนักบุญแซร์กิอุสในเซียร์กีเยฟโปซัด
- 2537/1994 – โบสถ์การเสด็จขึ้นสู่สวรรค์โคโลเมนสโคเย
- 2538/1995 – ป่าบริสุทธิ์โคมี
- 2542/1999 – เวสเทิร์นคอเคซัส
- 2543/2000 – สันดอนจะงอยคูโรเนียน (ร่วมกับลิทัวเนีย)
- 2543/2000 – กลุ่มอาคารอารามเฟราปอนตอฟ
- 2543/2000 – กลุ่มประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรมเครมลินแห่งคาซัน
- 2546/2003 – อาคารป้อมในเมือง นครโบราณ และป้อมแห่งเดียร์เบนต์
- 2547/2004 – กลุ่มอาคารของคอนแวนต์โนโวเดวีชี
- 2548/2005 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์นครยาโรสลาฟล์
- 2548/2005 – ส่วนโค้งภูมิมาตรศาสตร์ชตรูเวอ (ร่วมกับนอร์เวย์ เบลารุส ฟินแลนด์ มอลโดวา ยูเครน ลัตเวีย ลิทัวเนีย สวีเดน และเอสโตเนีย)
- 2557/2014 – กลุ่มประวัติศาสตร์และโบราณคดีบอลการ์
- 2561/2018 – Assumption Cathedral and Monastery of the town-island of Sviyazhsk
- 2562/2019 – Churches of the Pskov School of Architecture
- 2564/2021 – ภาพบนแผ่นหินแห่งทะเลสาบโอเนกาและทะเลขาว
- 2566/2023 – หอดูดาวดาราศาสตร์ของมหาวิทยาลัยสหพันธ์คาซัน
- 2567/2024 - ภูมิทัศน์วัฒนธรรมทะเลสาบเคโนเซโร
- 2534/1991 – ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำดานูบ
- 2536/1993 – หมู่บ้านพร้อมด้วยโบสถ์ที่มีป้อมปราการในทรานซิลเวเนีย
- 2536/1993 – อารามฮอเรซู
- 2536/1993 – โบสถ์แห่งมอลเดเวีย
- 2542/1999 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์ซีกีชออารา
- 2542/1999 – โบสถ์ไม้แห่งมารามูเรช
- 2542/1999 – ป้อมของชาวเดเชียแห่งภูเขาออเริชตีเย
- 2560/2017 – ป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิแห่งเทือกเขาคาร์เพเทียนและภูมิภาคอื่นของยุโรป (ร่วมกับโครเอเชีย เช็กเกีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บัลแกเรีย เบลเยียม โปแลนด์ ฝรั่งเศส มาซิโดเนียเหนือ ยูเครน เยอรมนี สเปน สโลวาเกีย สโลวีเนีย สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย อิตาลี และแอลเบเนีย)
- 2564/2521 – ภูมิทัศน์เหมืองรอชียามอนตาเนอ
- 2567/2524 – กลุ่มโบราณสถานบรึงกุชแห่งตือร์กูฌิว
- 2567/2524 – แนวพรมแดนของจักรวรรดิโรมัน – ดากิอา
- 2536/1993 – เมืองประวัติศาสตร์บันสกาชเจียวญิตซาและโบราณสถานทางเทคนิคในบริเวณแวดล้อม
- 2536/1993 – เลวอชา, สปิชสกีฮรัต และโบราณสถานทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่อง
- 2536/1993 – เวิลกอลีเญ็ตส์
- 2538/1995 – ถ้ำแห่งคาสต์อ็อกก์แตแล็กและคาสต์สโลวัก (ร่วมกับฮังการี)
- 2543/2000 – เขตสงวนเพื่อการอนุรักษ์เมืองบาร์ดเยยอว์
- 2550/2007 – ป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิแห่งเทือกเขาคาร์เพเทียนและภูมิภาคอื่นของยุโรป (ร่วมกับโครเอเชีย เช็กเกีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บัลแกเรีย เบลเยียม โปแลนด์ ฝรั่งเศส มาซิโดเนียเหนือ ยูเครน เยอรมนี โรมาเนีย สเปน สโลวีเนีย สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย อิตาลี และแอลเบเนีย)
- 2551/2008 – โบสถ์ไม้ในเขตสโลวักของพื้นที่เทือกเขาคาร์เพเทียน
- 2564/2021 – แนวพรมแดนของจักรวรรดิโรมัน – ระบบป้องกันชายแดนดานูบ (ส่วนตะวันตก) (ร่วมกับเยอรมนีและออสเตรีย)
- 2530/1987 – บูดาเปสต์รวมทั้งฝั่งแม่น้ำดานูบ ย่านปราสาทบูดอ และถนนออนดราสซี
- 2530/1987 – หมู่บ้านเก่าโฮลโลเกอและบริเวณแวดล้อม
- 2538/1995 – ถ้ำแห่งออกก์แตแล็กคาสต์และสโลวักคาสต์ (ร่วมกับสโลวาเกีย)
- 2539/1996 – อารามพันปีของคณะเบเนดิกตินแห่งปอนโนนฮอลมอและสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
- 2542/1999 – อุทยานแห่งชาติโฮร์โตบาจ ชีวนิเวศปุสตอ
- 2543/2000 – สุสานคริสเตียนเริ่มแรกแห่งเปช (โซเปียไน)
- 2544/2001 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมแฟร์เตอ / นอยซีดเลอร์เซ (ร่วมกับออสเตรีย)
- 2545/2002 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมประวัติศาสตร์ภูมิภาคเหล้าองุ่นโตกอย
อ้างอิง
[แก้]- ↑ World Heritage List, UNESCO World Heritage Sites official sites.
- ↑ รัสเซียมีแหล่งมรดกโลกทั้งสิ้น 31 แห่ง ประกอบด้วย แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 20 แห่ง และทางธรรมชาติ 11 แห่ง
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]
|
|