รายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประเทศที่มีแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย โดยแบ่งสีตามจำนวนสถานที่:
  6 ที่หรือมากกว่า
  5 ที่
  4 ที่
  3 ที่
  2 ที่
  1 ที่
A photograph of a fourteen-pointed, silver star with a hole in the middle all attached to a floor above which is draped a purple cloth
โบสถ์พระคริสตสมภพ ซึ่งถือกันว่าเป็นสถานที่ประสูติของพระเยซู เป็นหนึ่งในสถานที่ที่ถูกกำหนดให้เป็นแหล่งมรดกโลก และเป็นแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย ในปีเดียวกัน
  • หมายเหตุ: ปีที่กล่าวถึงหลังแหล่งมรดกโลกนั้น ๆ คือปี พ.ศ. ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ภาวะอันตราย

รายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย ถูกรวบรวมโดยองค์การร่วมมือทางการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมระหว่างประเทศ (ยูเนสโก) ผ่านทางคณะกรรมการมรดกโลก ตามอนุสัญญามรดกโลก มาตราที่ 11.4[nb 1] ซึ่งบัญญัติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2515 เพื่อกำหนดและจัดการแหล่งมรดกโลก

ข้อมูลเมื่อ กรกฎาคม 2019 มีแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตรายรวม 53 แห่ง (ธรรมชาติ 17 แห่ง, วัฒนธรรม 36 แห่ง) แบ่งตามภูมิภาคของยูเนสโกดังนี้: 21 แห่งอยู่ในรัฐอาหรับ (โดย 6 แห่งอยู่ในซีเรียและ 5 แห่งอยู่ในลิเบีย), 16 แห่งอยู่ในแอฟริกา (โดย 5 แห่งอยู่ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก), 6 แห่งอยู่ในลาตินอเมริกาและแคริบเบียน, 6 แห่งอยู่ในเอเชียและแปซิฟิก และ 4 แห่งอยู่ในยุโรปและอเมริกาเหนือ แหล่งธรรมชาติที่ใกล้สูญพันธุ์ส่วนใหญ่ (12) อยู่ในทวีปแอฟริกา[1][2]

*สำหรับชื่อแหล่งมรดกโลกในภาษาไทยนั้นได้แปลจากชื่อภาษาอังกฤษหรือฝรั่งเศสที่แต่ละแหล่งได้จดทะเบียนในบัญชีมรดกโลก

อัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน[แก้]

ออสเตรีย ออสเตรีย[แก้]

เบลีซ เบลีซ[แก้]

  • Belize Barrier Reef System (2552)

โบลิเวีย โบลีเวีย[แก้]

  • City of Potosí (2557)

สาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐแอฟริกากลาง[แก้]

ชิลี ชิลี[แก้]

  • Humberstone and Santa Laura Saltpeter Works (2548)

โกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์[แก้]

  • Mount Nimba Strict Nature Reserve (ร่วมกับประเทศกินี) (2524)

สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก คองโก[แก้]

  • อุทยานแห่งชาติวีเริงกา (2522)
  • อุทยานแห่งชาติการองบา (2523)
  • อุทยานแห่งชาติกาอูซี-บีกา (2523)
  • อุทยานแห่งชาติซาลองกา (2527)
  • เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าโอกาปี (2539)

อียิปต์ อียิปต์[แก้]

กินี กินี[แก้]

  • Mount Nimba Strict Nature Reserve (ร่วมกันโกตดิวัวร์) (2535)

ฮอนดูรัส ฮอนดูรัส[แก้]

  • Río Plátano Biosphere Reserve (2554)

อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย[แก้]

  • Tropical Rainforest Heritage of Sumatra (2554)

อิรัก อิรัก[แก้]

อิสราเอล อิสราเอล[แก้]

เลบานอน เลบานอน[แก้]

  • งานแสดงสินค้านานาชาติเราะชีด กะรอมี ในตริโปลี (2566)

ลิเบีย ลิเบีย[แก้]

  • Archaeological Site of Cyrene (2559)
  • Archaeological Site of Leptis Magna (2559)
  • Archaeological Site of Sabratha (2559)
  • Old Town of Ghadamès (2559)
  • Rock-Art Sites of Tadrart Acacus (2559)

มาดากัสการ์ มาดากัสการ์[แก้]

  • Rainforests of the Atsinanana (2553)

มาลี มาลี[แก้]

ไมโครนีเชีย ไมโครนีเชีย[แก้]

  • นันมาดอล : ศูนย์กลางพิธีการแห่งไมโครนีเชียตะวันออก (2559)

ไนเจอร์ ไนเจอร์[แก้]

  • Aïr and Ténéré Natural Reserves (2535)

รัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์[แก้]

ปานามา ปานามา[แก้]

  • Fortifications on the Caribbean Side of Panama: Portobelo-San Lorenzo (2555)

เปรู เปรู[แก้]

  • Chan Chan Archaeological Zone (2529)

เซเนกัล เซเนกัล[แก้]

เซอร์เบีย เซอร์เบีย[แก้]

  • อนุสาวรีย์ยุคกลางในคอซอวอ (2549)

ซีเรีย ซีเรีย[แก้]

  • Ancient City of Aleppo (2556)
  • Ancient City of Bosra (2556)
  • Ancient City of Damascus (2556)
  • Ancient Villages of Northern Syria (2556)
  • Crac des Chevaliers and Qal’at Salah El-Din (2556)
  • Site of Palmyra (2556)

ยูกันดา ยูกันดา[แก้]

  • Tombs of Buganda Kings at Kasubi (2553)

ยูเครน ยูเครน[แก้]

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร[แก้]

  • Liverpool – Maritime Mercantile City (2555)

แทนซาเนีย แทนซาเนีย[แก้]

  • Selous Game Reservei (2557)

สหรัฐ สหรัฐอเมริกา[แก้]

  • Everglades National Park (2553)

อุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน[แก้]

  • Historic Centre of Shakhrisyabz (2559)

เวเนซุเอลา เวเนซุเอลา[แก้]

  • โกโรและท่าเรือ (2548)

เยเมน เยเมน[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. ชื่อเต็ม: Convention concerning the protection of the World Cultural and Natural Heritage
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ที่นิยามใน <references> มีลักษณะกลุ่ม "lower-alpha" ซึ่งไม่ปรากฏในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิง[แก้]

อ้างอิง
  1. "List of World Heritage in Danger". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 10 July 2019.
  2. "World Heritage List Statistics". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 10 July 2019.
ทั่วไป

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]