รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปใต้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนสถานที่สำคัญใน 16 ประเทศในภูมิภาคยุโรปใต้ ยิบรอลตาร์ (ในฐานะดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร) และดินแดนในส่วนทวีปยุโรปของตุรกี เป็นมรดกโลกหลายแห่ง [1] ทั้งนี้ ไม่นับรวมแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในหมู่เกาะคะแนรีของสเปน หมู่เกาะมาเดราของโปรตุเกส ดินแดนในส่วนทวีปเอเชียของตุรกี และประเทศไซปรัส

  • หมายเหตุ – ตัวเลขหน้าข้อความหมายถึง ปี พ.ศ./ค.ศ. ที่สถานที่นั้นๆ ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก

สถิติ[แก้]

ประเทศ จำนวนมรดกโลก ประเภท
 อิตาลี
58 แห่ง
วัฒนธรรม 53 แห่ง, ธรรมชาติ 5 แห่ง
 สเปน
(ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)
47 แห่ง
วัฒนธรรม 43 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง, ผสม 2 แห่ง
 กรีซ
18 แห่ง
วัฒนธรรม 16 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง
 โปรตุเกส
(ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)
16 แห่ง
วัฒนธรรม 16 แห่ง
 โครเอเชีย
10 แห่ง
วัฒนธรรม 8 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง
 เซอร์เบีย
5 แห่ง
วัฒนธรรม 5 แห่ง
 สโลวีเนีย วัฒนธรรม 3 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง
 แอลเบเนีย
4 แห่ง
วัฒนธรรม 4 แห่ง
 มอนเตเนโกร วัฒนธรรม 3 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง
 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา วัฒนธรรม 3 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง
 มอลตา
3 แห่ง
วัฒนธรรม 3 แห่ง
 ตุรกี
(ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)
2 แห่ง
วัฒนธรรม 2 แห่ง
  นครรัฐวาติกัน วัฒนธรรม 2 แห่ง
 มาซิโดเนียเหนือ ธรรมชาติ 1 แห่ง, ผสม 1 แห่ง
 อันดอร์รา
1 แห่ง
วัฒนธรรม 1 แห่ง
 ซานมารีโน วัฒนธรรม 1 แห่ง
 บริเตนใหญ่
(ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)
วัฒนธรรม 1 แห่ง

 กรีซ[แก้]

อะครอโพลิส เอเธนส์
เอพิดอรัส

 โครเอเชีย[แก้]

ดูบรอฟนีก

 ซานมารีโน[แก้]

 เซอร์เบีย[แก้]

อารามสตูเดนิตซา

 ตุรกี (ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)[แก้]

อิสตันบูล

  นครรัฐวาติกัน[แก้]

 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา[แก้]

มอสตาร์

 โปรตุเกส (ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)[แก้]

คอนแวนต์แห่งพระคริสต์ในตูมาร์
ซิงตรา

 มอนเตเนโกร[แก้]

กอตอร์

 มอลตา[แก้]

วัลเลตตา

 มาซิโดเนียเหนือ[แก้]

 สเปน (ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)[แก้]

อาลัมบรา
ซากราดาฟามิลิอา ผลงานอันตอนี เกาดี
อาบิลา
โตเลโด
แซร์ราดาตรามุนตานา

 สโลวีเนีย[แก้]

ถ้ำชคอตส์ยัน

 บริเตนใหญ่ (ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้) :  ยิบรอลตาร์[แก้]

 อันดอร์รา[แก้]

 อิตาลี[แก้]

สันตะสำนัก
จัตุรัสดูโอโม ปิซา
ซีเอนา
อัลเบโรเบลโล
อากรีเจนโต
อูร์บีโน

 แอลเบเนีย[แก้]

จีโรคัสตรา

อ้างอิง[แก้]

  1. World Heritage List, UNESCO World Heritage Sites official sites.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]