อาสนวิหารนักบุญโซเฟีย (เคียฟ)
อาสนวิหารนักบุญโซเฟีย | |
---|---|
Собо́р Свято́ї Софі́ї | |
![]() | |
![]() | |
50°27′10″N 30°30′52″E / 50.45278°N 30.51444°Eพิกัดภูมิศาสตร์: 50°27′10″N 30°30′52″E / 50.45278°N 30.51444°E | |
ที่ตั้ง | ปูชนียสถานแห่งชาติ "โซเฟียแห่งเคียฟ" หมู่อาคารอาสนวิหารโซเฟียอันศักดิ์สิทธิ์ เขตแชวแชนกิวสกืย เคียฟ |
ประเทศ | ประเทศยูเครน |
เว็บไซต์ | เว็บไซต์ทางการ |
ประวัติ | |
อุทิศแก่ | ฮาเกียโซเฟีย |
สถาปัตยกรรม | |
การขึ้นทะเบียน | สิ่งมหัศจรรย์ทั้งเจ็ดของยูเครน[1] |
รูปแบบสถาปัตย์ | ไบแซนไทน์, บาโรกยูเครน |
ปีสร้าง | ศตวรรษที่ 11 |
โครงสร้าง | |
อาคารยาว | 29.5 m (97 ft) |
อาคารกว้าง | 29.3 m (96 ft) |
ความสูงโดม (ภายนอก) | 28.6 m (94 ft) |
ชื่อทางการ | เคียฟ: อาสนวิหารนักบุญโซเฟียและสิ่งปลูกสร้างอารามที่เกี่ยวข้อง และกือแยวอ-แปแชร์สกาลาวรา |
ที่ตั้ง | ยุโรป |
เกณฑ์การคัดเลือก | i, ii, iii, iv |
อ้างอิง | 527 |
จารึก | 1990 (คณะกรรมการสมัยที่ 14) |
อาสนวิหารนักบุญโซเฟีย ในกรุงเคียฟ ประเทศยูเครน เป็นอาสนวิหารและหนึ่งในหมุดหมายสำคัญของเคียฟที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งมรดกโลกแห่งแรกของประเทศยูเครนซึ่งยูเนสโกขึ้นทะเบียนร่วมกับหมู่อารามถ้ำเคียฟ[2][nb 1] อาสนวิหารประกอบด้วยตัวอาคารหลัก, หอระฆัง และที่เฮาส์ออฟเมโตรโปลิตัน (House of Metropolitan) ในปี 2011 แหล่งโบราณสถานได้รับการถ่ายโอนมาอยู่ภายใต้การดูแลของกระทรวงวัฒนธรรมยูเครน[4][5]
ชื่อในภาษายูเครนของอาสนวิหารคือ Собо́р Свято́ї Софі́ї (Sobór Sviatói Sofíi) หรือ Софі́йський собо́р (Sofíiskyi sobór)
หมายเหตุ[แก้]
- ↑ In late 2010 a UNESCO monitoring mission was visiting the Kyiv Pechersk Lavra to check the situation of the site. At the time the Minister of Culture Mykhailo Kulynyak stated the historic site along with the Holy Sophia Cathedral was not threatened by the "black list" of the organization.[3] The World Heritage Committee of UNESCO decided in June 2013 that Kyiv Pechersk Lavra, and St Sophia Cathedral along with its related monastery buildings would remain on the World Heritage List.[2]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "7 чудес України - Новини". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 August 2007. สืบค้นเมื่อ 10 July 2015.
- ↑ 2.0 2.1 Kyiv Pechersk Lavra, St. Sophia Cathedral remain on UNESCO's World Heritage List, Interfax-Ukraine, 20 June 2013, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 June 2013
- ↑ "Міністерство культури України". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2015. สืบค้นเมื่อ 10 July 2015.
- ↑ "Міністерство культури України". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 July 2012. สืบค้นเมื่อ 10 July 2015.
- ↑ Голос України.–2011.–9 лютого. Міністерств багато, а Софія Київська – одна.–Градоблянська Т. (government website) เก็บถาวร 2012-07-16 ที่ archive.today
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: อาสนวิหารนักบุญโซเฟีย (เคียฟ) |
- 3D-model of Sophia Cathedral (3.2 Mb)
- (ในภาษายูเครน) Official Website of the museum
- Holy Sophia Cathedral - Kyiv History Site
- (ในภาษารัสเซีย) Sobory.ru - information about the cathedral
- Travel.kyiv.org - information for tourists
- Mosaics and frescoes of St. Sophia Cathedral
- (ในภาษายูเครน) Софійський собор เก็บถาวร 2007-11-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน in Wiki-Encyclopedia Kyiv
- (ในภาษาอังกฤษ) Must see places in Kiev - Holy Sophia Cathedral[ลิงก์เสีย]
- Mosaics and Frescoes of Saint Sophia Cathedral of Kyiv. Photoalbum. Kyiv, Mistectvo, 1975.