ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศออสเตรีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศออสเตรียทั้งสิ้น 12 แหล่ง ประกอบด้วยแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 11 แหล่ง และแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ 1 แหล่ง[1]

ที่ตั้ง

[แก้]

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก

[แก้]

แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม

[แก้]
*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
คำบรรยาย อ้างอิง
ศูนย์กลางประวัติศาสตร์
นครซัลทซ์บวร์ค
รัฐซัลทซ์บวร์ค
47°48′00.8″N 13°02′45.9″E / 47.800222°N 13.046083°E / 47.800222; 13.046083 (Historic Centre of the City of Salzburg)
วัฒนธรรม:
(ii), (iv), (vi)
236;
พื้นที่กันชน 467
2539/1996 784[3]
พระราชวังและพระราชอุทยาน
เชินบรุน
เวียนนา
48°11′09.2″N 16°18′46.1″E / 48.185889°N 16.312806°E / 48.185889; 16.312806 (Palace and Gardens of Schönbrunn)
วัฒนธรรม:
(i), (iv)
186.28;
พื้นที่กันชน 260.64
2539/1996 786[4]
ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
ฮัลชตัท-ดัคชไตน์/
ซัลทซ์คัมเมอร์กูท
รัฐโอแบร์เอิสเตอร์ไรช์และรัฐสตีเรีย
47°33′43.9″N 13°38′55.9″E / 47.562194°N 13.648861°E / 47.562194; 13.648861 (Hallstatt-Dachstein / Salzkammergut Cultural Landscape)
วัฒนธรรม:
(iii), (iv)
28,446.2;
พื้นที่กันชน 20,013.9
2540/1997 806[5]
ทางรถไฟสายเซ็มเมอริง รัฐนีเดอร์เอิสเตอร์ไรช์และรัฐสตีเรีย
47°38′55.8″N 15°49′40.7″E / 47.648833°N 15.827972°E / 47.648833; 15.827972 (Semmering railway)
วัฒนธรรม:
(ii), (iv)
156.18;
พื้นที่กันชน 8,581.21
2541/1998 785[6]
นครกราทซ์
ศูนย์กลางประวัติศาสตร์
และชล็อสเอ็กเกินแบร์ค
รัฐสตีเรีย
47°04′22.9″N 15°26′19.0″E / 47.073028°N 15.438611°E / 47.073028; 15.438611 (City of Graz – Historic Centre and Schloss Eggenberg)
วัฒนธรรม:
(ii), (iv)
2542/1999;
เพิ่มเติม 2553/2010
931[7]
ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
วาเคา
รัฐนีเดอร์เอิสเตอร์ไรช์
48°21′52.0″N 15°26′02.9″E / 48.364444°N 15.434139°E / 48.364444; 15.434139 (Wachau Cultural Landscape)
วัฒนธรรม:
(ii), (iv)
18,387;
พื้นที่กันชน 2,942
2543/2000 970[8]
ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
แฟร์เตอ/น็อยซีดเลอร์เซ
(ร่วมกับฮังการี)
รัฐบัวร์เกินลันท์
47°51′41.0″N 16°43′19.1″E / 47.861389°N 16.721972°E / 47.861389; 16.721972 (Fertö / Neusiedlersee Cultural Landscape)
วัฒนธรรม:
(v)
68,369;
พื้นที่กันชน 6,347
2544/2001 772[9]
ศูนย์กลางประวัติศาสตร์
เวียนนา
เวียนนา
48°12′33.8″N 16°22′11.6″E / 48.209389°N 16.369889°E / 48.209389; 16.369889 (Historic Centre of Vienna)
วัฒนธรรม:
(ii), (iv), (vi)
371;
พื้นที่กันชน 462
2544/2001 เป็นแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย 1033[10]
แหล่งที่อยู่อาศัย
แบบเรือนยกพื้น
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
โดยรอบเทือกเขาแอลป์

(ร่วมกับฝรั่งเศส, เยอรมนี, สโลวีเนีย, สวิตเซอร์แลนด์ และอิตาลี)
รัฐโอแบร์เอิสเตอร์ไรช์และรัฐคารินเทีย
47°48′14.2″N 13°26′58.3″E / 47.803944°N 13.449528°E / 47.803944; 13.449528 (Prehistoric pile dwellings around the Alps)
วัฒนธรรม:
(iv), (v)
274.2;
พื้นที่กันชน 3,960.77
2554/2011 1363[11]
แนวพรมแดนของจักรวรรดิโรมัน
ระบบป้องกันชายแดนดานูบ
(ส่วนตะวันตก)
(ร่วมกับเยอรมนีและสโลวาเกีย)
รัฐโอแบร์เอิสเตอร์ไรช์, รัฐนีเดอร์เอิสเตอร์ไรช์ และเวียนนา
48°20′00.1″N 16°03′16.4″E / 48.333361°N 16.054556°E / 48.333361; 16.054556 (Frontiers of the Roman Empire – The Danube Limes (Western Segment))
วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (iv)
821.7461;
พื้นที่กันชน 1,826.7635
2564/2021 1608[12]
เมืองสปาใหญ่แห่งยุโรป
(ร่วมกับเช็กเกีย, เบลเยียม, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, สหราชอาณาจักร และอิตาลี)
รัฐนีเดอร์เอิสเตอร์ไรช์
48°00′35.9″N 16°14′00.9″E / 48.009972°N 16.233583°E / 48.009972; 16.233583 (The Great Spa Towns of Europe)
วัฒนธรรม:
(ii), (iii)
7,014;
พื้นที่กันชน 11,319
2564/2021 สถานที่ที่ขึ้นทะเบียนได้แก่บาเดินไบวีน 1613[13]

แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ

[แก้]
*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
คำบรรยาย อ้างอิง
ป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิ
แห่งเทือกเขาคาร์เพเทียน
และภูมิภาคอื่นของยุโรป

(ร่วมกับโครเอเชีย, เช็กเกีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, บัลแกเรีย, เบลเยียม, โปแลนด์, ฝรั่งเศส, มาซิโดเนียเหนือ, ยูเครน, เยอรมนี, โรมาเนีย, สเปน, สโลวาเกีย, สโลวีเนีย, สวิตเซอร์แลนด์, อิตาลี และแอลเบเนีย)
รัฐโอแบร์เอิสเตอร์ไรช์และรัฐนีเดอร์เอิสเตอร์ไรช์
47°44′58.0″N 14°28′56.0″E / 47.749444°N 14.482222°E / 47.749444; 14.482222 (Ancient and Primeval Beech Forests of the Carpathians and Other Regions of Europe)
ธรรมชาติ:
(ix)
99,947.81;
พื้นที่กันชน 296,275.8
2550/2007;
เพิ่มเติม 2554/2011,
2560/2017,
2564/2021
และ 2566/2023
ป่าต้นบีชในประเทศออสเตรียได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกเมื่อ พ.ศ. 2560 1133[14]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น

[แก้]

ประเทศออสเตรียมีสถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 10 แห่ง[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Austria". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  2. ป่าต้นบีชประกอบด้วยสถานที่หลายแห่งกระจายอยู่ 12 ประเทศ และจุดในภาพที่ที่ระบุ "ที่อยู่แบบเรือนยก" ระบุพิกัดของทะเลสาบอัทเทอร์ซึ่งเป็นที่ตั้งของอาคารจำนวน 3 อาคารจาก 5 อาคารในประเทศออสเตรีย
  3. "Historic Centre of the City of Salzburg". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  4. "Palace and Gardens of Schönbrunn". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  5. "Hallstatt-Dachstein / Salzkammergut Cultural Landscape". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  6. "Semmering Railway". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  7. "City of Graz – Historic Centre and Schloss Eggenberg". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  8. "Wachau Cultural Landscape". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  9. "Fertö / Neusiedlersee Cultural Landscape". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  10. "Historic Centre of Vienna". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  11. "Prehistoric Pile Dwellings around the Alps". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  12. "Frontiers of the Roman Empire – The Danube Limes (Western Segment)". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  13. "The Great Spa Towns of Europe". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  14. "Ancient and Primeval Beech Forests of the Carpathians and Other Regions of Europe". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.