วรอตสวัฟ
วรอตสวัฟ | |
---|---|
คำขวัญ: | |
พิกัด: 51°06′36″N 17°01′57″E / 51.11000°N 17.03250°E | |
ประเทศ | โปแลนด์ |
จังหวัด | ดอลนือชล็อนสก์ |
เทศมณฑล | เทศมณฑลนคร |
ก่อตั้ง | คริสต์ศตวรรษที่ 10 |
สิทธิของนคร | ค.ศ. 1214 |
การปกครอง | |
• นายกเทศมนตรี | ยัตแซก ซูตรึก |
พื้นที่ | |
• ตัวเมือง | 292.92 ตร.กม. (113.10 ตร.ไมล์) |
ความสูงจุดสูงสุด | 155 เมตร (509 ฟุต) |
ความสูงจุดต่ำสุด | 105 เมตร (344 ฟุต) |
ประชากร (31 ธันวาคม ค.ศ. 2020) | |
• ตัวเมือง | 641,928 (4th)[1] คน |
• ความหนาแน่น | 2,190 คน/ตร.กม. (5,700 คน/ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล | 1,250,000 คน |
เขตเวลา | UTC+1 (CET) |
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) | UTC+2 (CEST) |
รหัสไปรษณีย์ | 50-041 ถึง 54–612 |
รหัสพื้นที่ | +48 71 |
ทะเบียนรถ | DW, DX |
เว็บไซต์ | www |
วรอตสวัฟ (โปแลนด์: Wrocław, ออกเสียง: [vrɔt͡swaf] ( ฟังเสียง); Lower Silesian: Brassel;[2] ละติน: Vratislavia, Wratislavia) หรือ เบร็สเลา (เยอรมัน: Breslau, [ˈbʁɜslaʊ] ( ฟังเสียง)) เป็นเมืองหลักของจังหวัดดอลนือชล็อนสก์ ประเทศโปแลนด์ และถือว่าเป็นที่นัดพบสำคัญในทวีปยุโรป มีความหลากหลายและการเปี่ยมล้นด้วยวัฒนธรรมของประวัติศาสตร์ในเมืองนี้ เป็นดังสะพานเชื่อม ที่เชื่อมระหว่างคนในแต่ละรุ่น แต่ละวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน เป็นแบบเมืองที่ทันสมัยของเมืองใหญ่ ที่มีพื้นฐานทางประวัติศาสตร์ ชีวิตที่เต็มด้วยวัฒนธรรมและการศึกษา และมากไปกว่านั้น เมืองวรอตสวัฟใกล้เขตชายแดนของสองประเทศ นั่นคือชายแดนติดกับประเทศเช็กเกีย และชายแดนติดกับประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ห่างกรุงเบอร์ลิน 350 กิโลเมตร, ห่างจากกรุงปราก 280 กิโลเมตร, ห่างจากกรุงเวียนนา 390 กิโลเมตร และห่างจากกรุงวอร์ซอ 340 กิโลเมตร มีประชากร 632,240 คน ทำให้เป็นเมืองใหญ่อันดับ 4 ของประเทศโปแลนด์
เมืองพี่น้อง
[แก้]- สกอเปีย, ประเทศมาซิโดเนียเหนือ
- เบรดา, ประเทศเนเธอร์แลนด์
- เดรสเดิน, ประเทศเยอรมนี
- ชาร์ลอตต์, รัฐนอร์ทแคโรไลนา สหรัฐ
- กัวดาลาฮารา, ประเทศเม็กซิโก
- ฮราเดตส์กราลอเว, ประเทศเช็กเกีย
- เกานัส, ประเทศลิทัวเนีย
- ลวิว, ประเทศยูเครน
- รามัทกาน, ประเทศอิสราเอล
- โทรอนโต, ประเทศแคนาดา
- อิซมีร์, ประเทศตุรกี
- วีสบาเดิน, ประเทศเยอรมนี
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ "Local Data Bank". Statistics Poland. สืบค้นเมื่อ 16 October 2021. Data for territorial unit 0264000.
- ↑ Gedicht A Gebirgsmadla ei Brassel, in H. Tschampel: Gedichte in schlesischer Mundart. 5th eddition. Schweidnitz, p. 62.