รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศโครเอเชีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศโครเอเชียทั้งสิ้น 10 แหล่ง [1] เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 8 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 2 แหล่ง

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก[แก้]

แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม[แก้]

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(ha)
ปี (พ.ศ./ค.ศ.) หมายเหตุ อ้างอิง
กลุ่มสิ่งก่อสร้างประวัติศาสตร์แห่งสปลิตพร้อมด้วยพระราชวังของจักรพรรดิดิโอคลีเชียน  โครเอเชีย
วัฒนธรรม:
(ii) (iii) (iv)
20.8 2522/1979 [2]
นครเก่าดูบรอฟนีก  โครเอเชีย
วัฒนธรรม:
(ii) (iii) (iv)
96.7; พื้นที่กันชน 53.7 2522/1979 [3]
กลุ่มคริสต์ศาสนสถานมหาวิหารยูเฟรเซียสในศูนย์กลางประวัติศาสตร์พอเรช  โครเอเชีย
วัฒนธรรม:
(ii) (iii) (iv)
1.1 2540/1997 [4]
นครประวัติศาสตร์โทรกีร์  โครเอเชีย
วัฒนธรรม:
(ii) (iv)
6.4; พื้นที่กันชน 4.8 2540/1997 [5]
อาสนวิหารนักบุญเจมส์ในชีเบนีก  โครเอเชีย
วัฒนธรรม:
(i) (ii) (iv)
0.1; พื้นที่กันชน 15 2543/2000 [6]
ที่ราบสตารีกราด  โครเอเชีย
วัฒนธรรม:
(ii) (iii) (v)
1,376.53; พื้นที่กันชน 6,403.13 2551/2008 [7]
Stećci Medieval Tombstones Graveyards
(ร่วมกับบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกร และเซอร์เบีย)
 โครเอเชีย
วัฒนธรรม:
(iii) (vi)
49.15; พื้นที่กันชน 321.24 2559/2016 [8]
งานป้องกันของสาธารณรัฐเวนิสระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16–17 : สตาโตดาแตร์รา – สตาโตดามาร์ตะวันตก
(ร่วมกับอิตาลี และมอนเตเนโกร)
 โครเอเชีย
วัฒนธรรม:
(iii) (iv)
378.37 ; พื้นที่กันชน 1,749.62 2560/2017 [9]

แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ[แก้]

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(ha)
ปี (พ.ศ./ค.ศ.) หมายเหตุ อ้างอิง
อุทยานแห่งชาติทะเลสาบพลิตวิตเซ  โครเอเชีย
ธรรมชาติ:
(vii) (viii) (ix)
29,630.77 2550/1979
เพิ่มเติม 2543/2000
[10]
ป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิแห่งเทือกเขาคาร์เพเทียนและภูมิภาคอื่นของยุโรป
(ร่วมกับเช็กเกีย มาซิโดเนียเหนือ บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บัลแกเรีย เบลเยียม โปแลนด์ ฝรั่งเศส ยูเครน เยอรมนี โรมาเนีย สเปน สโลวาเกีย สโลวีเนีย สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย อิตาลี และแอลเบเนีย)
 โครเอเชีย
ธรรมชาติ:
(ix)
58,353.04; พื้นที่กันชน 191,413.09 2550/2007
เพิ่มเติม 2554/2011
และ 2560/2017
ป่าต้นบีชในประเทศโครเอเชียได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2560 [11]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]

ประเทศโครเอเชียมีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 15 แห่ง [1]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Croatia". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2017.
  2. "Historical Complex of Split with the Palace of Diocletian". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2017.
  3. "Old City of Dubrovnik". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2017.
  4. "Episcopal Complex of the Euphrasian Basilica in the Historic Centre of Poreč". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2017.
  5. "Historic City of Trogir". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2017.
  6. "The Cathedral of St James in Šibenik". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2017.
  7. "Stari Grad Plain". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2017.
  8. "Stećci Medieval Tombstones Graveyards". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2017.
  9. "Venetian Works of Defence between the 16th and 17th Centuries: Stato da Terra – Western Stato da Mar". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2017.
  10. "Plitvice Lakes National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2017.
  11. "Ancient and Primeval Beech Forests of the Carpathians and Other Regions of Europe". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2017.